ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หมู่พระมหาปราสาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6859844 สร้างโดย 58.10.71.135 (พูดคุย)
Mastertongapollo (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 16 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 9 คน)
บรรทัด 3:
| ชื่อสิ่งก่อสร้าง = พระมหาปราสาท
| ชื่อภาษาอื่น =
| ภาพ = BangkokNationalPalaceหมู่พระมหาปราสาท.jpg
| คำบรรยายภาพ = หมู่พระมหามณเฑียรปราสาท
| สิ่งก่อสร้าง = หมู่พระที่นั่งภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]]
| เมืองที่ตั้ง = [[เขตพระนคร]], [[กรุงเทพมหานคร]]
บรรทัด 26:
| พิกัดภูมิศาสตร์ =
| เว็บไซต์ =
| หมายเหตุ =
| module = {{Infobox historic site|embed=yes
}}
| designation1 = THAILAND
'''หมู่พระมหาปราสาท''' เป็นหมู่พระที่นั่งภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] โดยก่อสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแท้ มีทั้งองค์พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร พระปรัศว์ เรือนจันทร์ครบถ้วน ฝีมือก่อสร้างประณีตวิจิตรงดงาม เป็นสิ่งก่อสร้างที่ล้ำค่าอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ หมู่พระมหาปราสาทนี้ มีประวัติศาสตร์ที่แดงขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้ายาวนาน
| designation1_offname =
| designation1_date =
| designation1_partof = [[พระบรมมหาราชวัง]]
| designation1_number = 0005574 }}
|name=}}
'''หมู่พระมหาปราสาท''' เป็นหมู่พระที่นั่งภายใน[[พระบรมมหาราชวัง]] โดยก่อสร้างลักษณะสถาปัตยกรรมไทยแท้ มีทั้งองค์พระมหาปราสาท พระราชมณเฑียร พระปรัศว์ เรือนจันทร์ครบถ้วน ฝีมือก่อสร้างประณีตวิจิตรงดงาม เป็นสิ่งก่อสร้างที่ล้ำค่าอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ หมู่พระมหาปราสาทนี้ มีประวัติศาสตร์ที่แดงแสดงขนบธรรมเนียมประเพณี เกี่ยวกับองค์สมเด็จพระมหากษัตริยาธิราชเจ้ายาวนาน
 
== ประวัติ ==
เส้น 35 ⟶ 41:
หลังจากนั้น [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[พระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท]]ขึ้นบริเวณกำแพงแก้วพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทด้านตะวันออกเพื่อใช้เป็นพลับพลาสำหรับรับส่งเสด็จฯ ขึ้นประทับบนพระราชยาน และ[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]โปรดเกล้าฯ ให้สร้าง[[พระที่นั่งราชกรัณยสภา]]ขึ้นอีกองค์บริเวณทิศตะวันออกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เพื่อใช้เป็นสถานที่ประชุมที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
 
ปัจจุบัน หมู่พระมหาปราสาทใช้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญ อาทิ พระราชพิธีฉัตรมงคล รวมทั้ง เป็นสถานที่สำหรับสรงน้ำพระบรมศพและประดิษฐานพระโกศ และพระหีบพระบรมศพของของพระบรมราชวงศ์ชั้นสูงหลายพระองค์
 
== สิ่งก่อสร้างในหมู่พระมหาปราสาท ==
[[ไฟล์:Dusit Mahaprasatพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทในหมู่พระมหาปราสาท.jpg|left|thumb|200262x262px|left|[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]]]]
 
=== พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ===
[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เพื่อใช้เป็นท้องพระโรงทดแทน[[พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท]]ซึ่งถูกเพลิงไหม้ไป พระที่นั่งองค์ใช้เป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีและพระราชกุศลหลายครั้ง อาทิ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ใช้พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นท้องพระโรงสำหรับออกว่าราชการ ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมโภชขึ้น ณ พระที่นั่งแห่งนี้ รวมถึง ใช้เป็นสถานที่ตั้งพระโกศ และพระหีบพระบรมศพของพระบรมวงศ์ชั้นสูงหลายพระองค์
 
=== พระที่นั่งพิมานรัตยา ===
[[พระที่นั่งพิมานรัตยา]] สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]พร้อมกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเพื่อใช้เป็นพระวิมานที่บรรทมของพระมหากษัตริย์ในโอกาสที่เสด็จมาประทับยังหมู่พระมหาปราสาท พระที่นั่งองค์นี้เชื่อมต่อกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทด้วยมุขกระสัน ปัจจุบัน ใช้เป็นที่สถานที่สรงน้ำพระบรมศพพระบรมวงศ์ชั้นสูงหลายพระองค์
[[ไฟล์:พระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท.jpg|left|thumb|234x234px|[[พระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท]] ]]
 
=== พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท ===
[[พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท]] เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งอยู่ระหว่าง[[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]]และ[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] มีลักษณะเป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุขประกอบเครื่องยอดบุษบกมีเชิงเทินเกยเทียบพระยานคานหามใช้สำหรับรับส่งเสด็จฯ ขึ้นประทับบนพระราชยาน<ref name="ปราโมทย์">ปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ , [http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=809 สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 2 : พระบรมมหาราชวัง]{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}, เข้าถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554</ref>
[[ไฟล์:Phratinangapornphimokprasat.jpg|thumb|300px|[[พระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท]] เบื้องหลัง คือ [[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]]]]
[[ไฟล์:พระที่นั่งราชกรัณยสภา.jpg|thumb|241x241px|พระที่นั่งราชกรัณยสภา]]
[[พระที่นั่งอาภรณ์ภิโมกข์ปราสาท]] เป็นพระที่นั่งที่สร้างขึ้นโดย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ตั้งอยู่ระหว่าง[[พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท]]และ[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] มีลักษณะเป็นพระที่นั่งโถงทรงปราสาทจตุรมุขประกอบเครื่องยอดบุษบกมีเชิงเทินเกยเทียบพระยานคานหามใช้สำหรับรับส่งเสด็จฯ ขึ้นประทับบนพระราชยาน<ref name="ปราโมทย์">ปราโมทย์ ทัศนาสุวรรณ , [http://guru.sanook.com/enc_preview.php?id=809 สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 2 : พระบรมมหาราชวัง], เข้าถึงวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554</ref>
 
=== พระที่นั่งราชกรัณยสภา ===
'''พระที่นั่งราชกรัณยสภา''' สร้างขึ้นบนกำแพงแก้วด้านทิศตะวันออกของพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทโดย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]เพื่อใช้เป็นสถานที่ประชุมปรึกษาราชการแผ่นดิน เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาส[[ยุโรป]] [[สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระอัครราชเทวี]] ในฐานะ[[ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ (ประเทศไทย)|ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์]] ก็ทรงใช้พระที่นั่งองค์นี้ นอกจากนี้ พระที่นั่งแห่งนี้ยังใช้เป็นที่ประชุมปรึกษาราชการแผ่นดินอีกหลายวาระ เช่น ใช้เป็นที่ประชุมของคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ใน[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอนันทมหิดลพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล]]และ[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ขณะที่ยังทรงไม่บรรลุนิติภาวะและใช้เป็นที่ประชุมองคมนตรีโดยมี[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เป็นองค์ประธาน ในขณะที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงลาผนวช<ref name="ปราโมทย์"/> ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย2ชั้นประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ ภายในตกแต่งแบบยุโรป
 
=== เรือนจันทร์ ===
'''เรือนจันทร์''' สันนิษฐานว่าเดิมน่าจะเป็นโถง ที่มีมาแต่แรกสร้างในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ตามแบบแผนของการสร้างพระมหามณเฑียร และคงได้รับการบูรณะต่อมา กล่าวกันว่า [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงใช้เป็นห้องเสวยเมื่อเสด็จฯ มาประทับ ณ [[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] จึงได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมและได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบลักษณะเป็นอาคารชั้นเดียว ทรงไทยรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดเล็ก บกพื้นสูงระดับเดียวกับ[[พระที่นั่งพิมานรัตยา]] มีชาลาเชื่อมกับองค์พระที่นั่ง ตัวอาคารทอดยาวจากทิศตะวันออกไปทิศตะวันตก เป็นห้องโถงสองระดับ คือระดับในยกพื้นที่ขึ้นสองชั้น ส่วนระดับนอกเป็นเฉลียงรายรอบ กั้นด้วยหน้าต่างบานเฟี้ยมไม้ทาสี เปิดถึงพื้นโดยมีบานเฟี้ยมใหญ่ 2 บานตรงกลาง ด้านตะวันตกของเฉลียงกั้นเป็นห้องเล็กๆเล็ก ๆ หลังคามีมุขลดสองชั้น มุงกระเบื้องดินเผาเคลือบสี ประดับช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้งปิดทอง หน้าบันเป็นปูนปั้นลายดอกพุดตาลพุดตาน
 
=== สิ่งก่อสร้างอื่น ๆ ===
เส้น 61 ⟶ 68:
* [[มุขกระสันระหว่างพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทกับพระที่นั่งพิมานรัตยา|มุขกระสัน]]
* [[พระปรัศว์]]
* [[เขาไกรลาสจำลอง]] ตั้งอยู่บนกำแพงแก้ว ใกล้กับ[[ศาลาเปลื้องเครื่อง]] มีลักษณะเป็นเขามอแบบจีน สร้างขึ้นในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] เพื่อเป็นที่สรงน้ำในพระราชพิธีโสกันต์ (โกนจุก) ลักษณะเขาไกรลาส ยอดเขามีปราสาทเป็นที่สิงสถิตของ[[พระอิศวร]] ตอนล่างตกแต่งด้วย[[สัตว์หิมพานต์]]ชนิดต่างๆต่าง ๆ เมื่อมีการสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปีได้มีการรื้อ และก่อสร้างใหม่ในบริเวณเดิม
* [[ศาลาเปลื้องเครื่อง]] ตั้งอยู่บนกำแพงแก้วด้านทิศตะวันตกขององค์[[พระที่นั่งอาภรณ์พิโมกข์ปราสาท]] [[รัชกาลที่ 6]] โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเพื่อเป็นศาลาเอนกประสงค์เกี่ยวกับพระราชพิธี ประกอบขึ้นใน[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]] ลักษณะเป็นอาคารทรงไทย ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ก่ออิฐถือปูน สูงสองชั้น หลังคามุขลดหน้าหลัง มุงกระเบื้องเคลือบสี ประดับ[[ช่อฟ้า]] [[ใบระกา]] [[หางหงส์]] [[นาคสะดุ้ง]] ปิดทองประดับกระจก หน้าบันไม้จำหลักลายกระหนก ปิดทองบนพื้นกระจกสี ภายในศาลาทั้งชั้นบนและชั้นล่าง แบ่งเป็นสองห้อง มีสะพานทางเดินเชื่อมต่อกับพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท
 
นอกจากอาคารภายในกำแพงแก้วแล้ว ก็ยังมีอาคารต่างๆต่าง ๆ ภายนอกกำแพงแก้ว เช่น
* [[ศาลาว่าการพระราชวัง]]
* [[ศาลารัฐมนตรีสภา]]