ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
Natt1985 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 20 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 15 คน)
บรรทัด 8:
|picture_width =
|picture_caption =
|formed = {{start date and age2|2508|12|17}}<ref name="Pawakapan-2017">{{cite journal|last1=Pawakapan|first1=Puangthong R.|title=The Central Role of Thailand's Internal Security Operations Command in the Post-Counterinsurgency Period|journal=Trends in Southeast Asia|date=November 2017|issue=17|url=https://www.iseas.edu.sg/images/pdf/TRS17_17.pdf|isbn= 978-981-4786-81-2|accessdate=15 November 2017|publisher=Yusof Ishak Institute|location=Singapore|issn=0219-3213|archive-date=2017-11-15|archive-url=https://web.archive.org/web/20171115223305/https://www.iseas.edu.sg/images/pdf/TRS17_17.pdf|url-status=dead}}</ref>
|preceding1 = กองบัญชาการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ (บก.ปค.)
|preceding2 = กองอำนวยการป้องกันและปราบปรามคอมมิวนิสต์ (กอ.ปค.)
บรรทัด 19:
|employees =
|budget = 10,200.9716 ล้านบาท <small>(พ.ศ. 2559)</small><ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/091/17.PDF พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559] เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558</ref>
|minister1_name = [[เศรษฐาแพทองธาร ทวีสินชินวัตร]]
|minister1_pfo = ผู้อำนวยการ{{efn|นายกรัฐมนตรีเป็นผู้อำนวยการโดยตำแหน่ง}}
|minister2_name = พลเอก [[ณรงค์พันธ์เจริญชัย จิตต์แก้วแท้หินเธาว์]]
|minister2_pfo = รองผู้อำนวยการ{{efn|ผู้บัญชาการทหารบกเป็นรองผู้อำนวยการโดยตำแหน่ง}}
|minister3_name = พลเอก [[อุกฤษฎ์พนา บุญตานนท์แคล้วปลอดทุกข์]]
|minister3_pfo = เลขาธิการ{{efn|เสนาธิการทหารบกเป็นเลขาธิการโดยตำแหน่ง}}
|minister4_name = พลตรี [[วินธัย สุวารี]]
|ministe4_pfo = โฆษก
|chief1_name =
|chief1_position =
เส้น 48 ⟶ 50:
เดิมรับผิดชอบต่อการปราบปรามกลุ่ม[[การเมืองฝ่ายซ้าย|ฝ่ายซ้าย]]ตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงกลางคริสต์ทศวรรษ 1980 นอกจากนี้ยังมีการดำเนินโครงการกิจการพลเรือนหลายอย่าง รวมทั้งการพัฒนาชนบทและปฏิบัติการจิตวิทยา เพื่อแทรกซึมแวดวงสังคมและการเมืองของประเทศซึ่งยังดำเนินต่อมาแม้ภัยคุกคามคอมมิวนิสต์หมดไปแล้ว<ref name="Pawakapan-2017"/>{{rp|g}} อำนาจของ กอ.รมน. ยิ่งได้รับการส่งเสริมหลัง[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหารปี 2549]] และ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557|ปี 2557]] โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อชี้นำทิศทางการเมืองของประเทศ นับเป็นเครื่องมือที่อภิชนอนุรักษนิยมสามารถบั่นทอนและควบคุมประชาธิปไตยและเป็นวิธีที่กองทัพใช้รักษาอำนาจ<ref name="Pawakapan-2017"/> โดยในเดือนมิถุนายน 2550 [[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]]อนุมัติร่างกฎหมายความมั่งคงแห่งชาติซึ่งให้ กอ.รมน. มีอำนาจกว้างขวางในการรับมือภัยคุกคามต่อประเทศ โดยให้หัวหน้า กอ.รมน. สามารถดำเนินมาตรการความมั่นคงอย่างค้นโดยไม่ต้องขออนุญาตนายกรัฐมนตรี<ref>{{cite news|title=Cabinet approves security bill|url=http://pages.citebite.com/v1y8j7i9g0hsu|accessdate=15 November 2017|work=Bangkok Post|date=2007-06-20}}</ref> หลังรัฐประหารปี 2557 มีการขยายอำนาจของ กอ.รมน. ให้สามารถตีความภัยคุกคามได้เอง และเพิ่มงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
พวงทอง ภวัครพันธุ์เขียนว่า "[[การต่อต้านประชาธิปไตย]]" เป็นภารกิจของ กอ.รมน. และ "การขาดความสนใจในบทบาทกว้างขวางของกองทัพในแวดวงสังคมและการเมืองสะท้อนออกมา ... แม้มีการเรียกร้องให้กองทัพกลับเข้ากรมกอง ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยและให้พลเรือนควบคุมกองทัพ ... แต่ไม่มีผู้ใดเสนอให้ลบระบบการเมืองและอุดมการณ์ของกองทัพ"<ref name="AS-20171114"ประกาศคำสั่งเด็จขาดในการแก้ไขควบคุม รักษาข้อมูล ห้ามมิให้ผู้ใดแก้ไขข้อมูลจนกว่าจะตามจับคนร้ายโจรกรรมข้อมูลในปทุมธานีได้ หากเรื่องราวยังไม่แล้วเสร็จ ห้ามผู้ใดแก้ไขข้อมูลดังกล่าว/>
 
== ประวัติ ==