ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aec9988 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 45 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 16 คน)
บรรทัด 2:
{{เปลี่ยนทาง|กัมพูชา}}
{{Infobox country
| conventional_long_name = พระราชอาณาจักรกัมพูชา
| common_name = กัมพูชา
| native_name = {{ubl|{{native name|km|ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា|italics=off}}}}
บรรทัด 41:
| leader_name2 = [[ฮุน มาแณต|สมเด็จมหาบวรธิบดี ฮุน มาแณต]]
| leader_title3 = [[รายชื่อประธานพฤฒสภากัมพูชา|ประธานพฤฒสภา]]
| leader_name3 = [[เซย์ฮุน ซัมเซน|สมเด็จวิบุลเสนาภักดีอัครมหาเสนาบดี สายเดโช ฌุมฮุน เซน]]
| leader_title4 = [[รายชื่อประธานรัฐสภากัมพูชา|ประธานรัฐสภา]]
| leader_name4 = [[เฮงฆวน สำรินสุดารี|สมเด็จอัครมหาพญาจักรีรัฐสภาธิการธิบดี เฮงฆวน สัมรินสุดารี]]
| legislature = [[สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา|สภาผู้แทนราษฎร]]
| upper_house = [[พฤฒสภากัมพูชา|พฤฒสภา]]
บรรทัด 54:
| established_event3 = [[จักรวรรดิเขมร]]
| established_date3 = ค.ศ. 802–1431
| established_event4 = [[สยามยุคมืดของกัมพูชา|สยามปกครองยุคมืด]]
| established_date4 = ค.ศ. 1431–1863
| established_event5 = [[กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส|อารักขาของฝรั่งเศส]]
บรรทัด 109:
| cctld = [[.kh]]
}}
'''กัมพูชา''' ({{lang-km|កម្ពុជា, กมฺพุชา}}) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''พระราชอาณาจักรกัมพูชา''' ({{lang-km|ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា, พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา}}) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของ[[คาบสมุทรอินโดจีน]]ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับ[[ประเทศไทย]] ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและ[[ประเทศลาว|ลาว]] ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติด[[อ่าวไทย]] ด้วยประชากรกว่า 15 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก [[ศาสนาพุทธ]][[นิกายเถรวาท]]เป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือมากกว่า 97%<ref name="CIACB" /> ชนกลุ่มน้อยในประเทศมี[[ชาวเวียดนาม]] [[ชาวจีน]] [[ชาวจาม]] และชาวเขากว่า 30 เผ่า<ref>{{cite web |url=http://news.xinhuanet.com/english2010/culture/2010-08/03/c_13428465.htm |title=Cambodia to celebrate day for indigenous people near Angkor Wat |publisher=News.xinhuanet.com |access-date=15 March 2013 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20130825133021/http://news.xinhuanet.com/english2010/culture/2010-08/03/c_13428465.htm |archive-date=25 August 2013}}</ref> เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ [[พนมเปญ]] ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
 
ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] มี[[พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี]] มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็น[[รายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา|ประมุขแห่งรัฐ]] ประมุขรัฐบาล คือ [[สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน]] ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี
บรรทัด 120:
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
{{Listen
|filename = Km-ខ្មែរ.ogg
|title = คำว่า '''เขมร''' คมาย (ขะแมร์/ขแมร์) ในภาษาเขมร
|description =
|format = [[Ogg]]
}}
'''''Cambodia''''' และ '''''Kâmpŭchéa''' (កម្ពុជា )'' เป็นชื่อประเทศใน[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาเขมร]]ซึ่งทั้งสองคำมาจากการแผลงคำใน[[ภาษาฝรั่งเศส]] '''''Cambodge''''' ซึ่ง[[ชาวฝรั่งเศส]]ใช้เรียกดินแดน[[จักรวรรดิเขมร|จักรวรรดิจักรเขมร]]ในยุคโบราณ และชาติตะวันตกอื่น ๆ เริ่มมีการกล่าวถึงชื่อประเทศกัมพูชาตั้งแต่ ค.ศ. 1524 เมื่ออันโตนิโอ พิกาเฟตตา (นักสำรวจชาวอิตาลีที่ติดตาม[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] ในการแล่นเรือรอบโลก) มีการอ้างถึงชื่อประเทศกัมพูชาในบันทึกการเดินทางของเขาในชื่อ ''Camogia''<ref>{{Cite web|title=Relazione del primo viaggio intorno al mondo - Wikisource|url=https://it.wikisource.org/wiki/Relazione_del_primo_viaggio_intorno_al_mondo|website=it.wikisource.org|language=it}}</ref> และเมื่อเวลาผ่านไป ผู้คนได้เรียกคำนี้ว่า ''Cambodia''
 
เส้น 146 ⟶ 152:
=== อาณาจักรเจนละ (อาณาจักรอิศานปุระ) ===
{{บทความหลัก|อาณาจักรอิศานปุระ}}
ในระหว่าง พ.ศ. 1170-1250 นั้นอาณาจักรเขมรโบราณมีกษัตริย์ครองราชย์คือ พระเจ้าภววรมันที่ 2 พระโอรสของพระเจ้าอีศานวรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 โอรสของพระเจ้าภววรมันที่ 2 ยุคนี้ได้สร้างศิลปเขมรแบบไพรกเมง ขึ้นระหว่างพ.ศ. 1180-1250 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 นั้นอาณาจักรเจนฬา (เจนละ) นั้นได้แตกแยกเป็นพวกเจนละบกคืออยู่ลุ่มน้ำโขงตอนใต้ และพวกเจนละน้ำ อยู่ในดินแดนลาวตอนกลาง พ.ศ. 1250-1350 ยุคนี้ได้มีการสร้างศิลปเขมรแบบกำพงพระขึ้น
 
อาณาจักรเขมรโบราณนั้นล่มสลายมาจนถึงรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 หรือพระเจ้าปรเมศวร พ.ศ. 1345-1393 พระองค์ได้รวบรวมพวกเจนละบกและพวกเจนละน้ำเป็นอาณาจักรใหม่โดยรับเอาลัทธไศเลนทร์หรือ เทวราชาเข้ามาทำการสถานปนาอาณาจักรใหม่ขึ้น โดยทำการสร้างราชธานีขึ้นใหม่หลายแห่งและสร้างปราสาทหินหรือเทวาลัยเป็นการใหญ่ ซึ่งมีเหตุการณ์ย้ายราชธานีขึ้นหลายครั้งจนกว่าจะลงตัวที่เมืองหริหราลัยราชธานีแห่งแรกของอาณาจักรเขมร ต่อมาคือ เมืองยโศธรปุระ และ เมืองนครธมในที่สุด ด้วยเหตุนี้อาณาจักรเขมรสมัยนี้จึงรุ่งเรืองด้วยการสร้างราชธานีขึ้นหลายแห่งและมีปราสาทหินที่เป็นศิลปะเขมรเกิดขึ้นหลายแบบ กล่าวคือ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 นั้นพระองค์ได้ทำการสร้างเมืองอินทรปุระเป็นราชธานี ขึ้นที่บริเวณใกล้เมืองกำแพงจาม สร้างเมืองหริหราลัยหรือร่อลวย เป็นราชธานี สร้างเมืองอมเรนทรปุระ เป็นราชธานี และสร้างเมืองมเหนทรบรรพต หรือ พนมกุเลนเป็นราชธานี ยุคนี้ได้สร้างศิลปเขมรแบบกุเลนขึ้นระหว่าง พ.ศ. 1370-1420
 
เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 พระโอรสได้ครองราชย์ทรงพระนามว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ 3 หรือ พระเจ้าวิษณุโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1393-1420 พระองค์ได้กลับมาใช้เมืองหริหราลัยหรือร่อลอย เป็นราชธานี ต่อมาจนถึงรัชกาลพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 หรือ พระเจ้าอิศวรโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1420-1432 ยุคนี้ได้สร้างศิลปะเขมรแบบพระโคขึ้นในพ.ศ. 1420-1440
เส้น 184 ⟶ 190:
}}
[[ไฟล์:Map-of-southeast-asia 900 CE.png|thumb|200px|right|อาณาเขตของ[[จักรวรรดิเขมร]] (สีแดง)]]
'''จักรวรรดิขแมร์''' หรือ '''อาณาจักรเขมรโบราณ''' หรือบางแหล่งเรียกว่า '''อาณาจักรขอม''' เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจาก[[อาณาจักรฟูนัน]] มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ [[ประเทศไทย]] [[ลาว]] และบางส่วนของ[[เวียดนาม]]ในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับ[[อาณาจักรสุโขทัย]]และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของ[[อาณาจักรอยุธยา]]
อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจาก[[อาณาจักรเจนฬา]] มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น [[อาณาจักรล้านช้าง]] [[อาณาจักรอยุธยา]] และ[[อาณาจักรจามปา]] มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ [[นครวัด]] และ [[นครธม]] ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ [[ศาสนาฮินดู]] [[มหายาน|พุทธศาสนามหายาน]] และ[[เถรวาท|พุทธศาสนาเถรวาท]]ซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อ[[คริสต์ศตวรรษที่ 13]]
 
เส้น 241 ⟶ 247:
 
ในปี พ.ศ. 2536 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]]ได้รับอัญเชิญให้เสด็จกลับกัมพูชาและได้มีการฟื้นฟูในฐานะพระมหากษัตริย์ของกัมพูชา แต่อำนาจทั้งหมดอยู่ในมือของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นหลังจากการเลือกตั้งที่ได้รับการสนับสนุนจาก UNTAC เสถียรภาพที่เกิดขึ้นหลังจากความขัดแย้งเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 โดยการทำรัฐประหารซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรีฮุนเซนร่วมกับพรรคที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในรัฐบาล<ref name="97COUP">[https://web.archive.org/web/20070627054853/http://cambodia.ohchr.org/Documents/Statements%20and%20Speeches/English/40.pdf STATEMENT BY AMBASSADOR THOMAS HAMMARBERG, SPECIAL REPRESENTATIVE OF THE SECRETARY-GENERAL OF THE UNITED NATIONS FOR HUMAN RIGHTS IN CAMBODIA]. UN OHCHR Cambodia (9 July 1997)</ref> หลังจากที่รัฐบาลสามารถรักษาเสถียรภาพภายใต้การบริหารของสมเด็จ[[ฮุนเซน]]แล้วกัมพูชาก็ได้รับการยอมรับเข้าสู่[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (อาเซียน) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542<ref name="enlargement">{{cite book|title=ASEAN Enlargement: impacts and implications|author1=Carolyn L. Gates|author2=Mya Than|publisher=Institute of Southeast Asian Studies|year=2001|isbn=978-981-230-081-2}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.asean.org/3338.htm|title=Statement by the Secretary-General of ASEAN Welcoming the Kingdom of Cambodia as the Tenth Member State of ASEAN: 30 April 1999, ASEAN Secretariat|year=2008|work=ASEAN Secretariat|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110511153639/http://www.asean.org/3338.htm|archivedate=11 May 2011|url-status=dead|accessdate=28 August 2009}}</ref> ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาความพยายามในการฟื้นฟูได้ก้าวหน้าและนำไปสู่ความมั่นคงทางการเมืองผ่านประชาธิปไตยระบบการเมืองหลายพรรคภายใต้[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]<ref name="CIACB"/> แม้ว่าการปกครองของฮุนเซนจะถูกกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการคอรัปชั่น,<ref name="Strangio">{{cite book|last=Strangio|first1=Sebastian|title=Hun Sen's Cambodia|date=2014|publisher=Yale University Press|isbn=978-0-300-19072-4}}</ref> พลเมืองกัมพูชาส่วนใหญ่ในช่วงปี 2000 ยังคงได้รับการอนุมัติจากรัฐบาล การสัมภาษณ์ชาวเขมรในชนบทในปี 2551 แสดงให้เห็นว่าสถานะที่มั่นคงต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรง<ref>{{cite book|last=Brinkley|first=John|title=Cambodia's Curse: The Modern History of a Troubled Land|date=2011|publisher=Hachette UK|pages=460–463|url=https://books.google.com.ph/books?id=C3bsidxFIuEC|accessdate=17 November 2019|quote=[Javier Merelo de Barbera] spoke to dozens of [villagers] during the 2008 election campaign, and he said he observed a constant theme: 'People were very afraid of the CCP losing. They were very afraid of change.' After all, for centuries change in Cambodia has generally led to misery or death.}}</ref>
 
== การเมืองการปกครอง ==
{{บทความหลัก|การเมืองกัมพูชา}}
เส้น 268 ⟶ 275:
สถาบันพระมหากษัตริย์ในพระราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นแบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] องค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขที่เคารพสักการะ ไม่มีพระราชอำนาจปกครองโดยตรง ทรงยึดถือหลัก "ให้ทรงปกเกล้า แต่ไม่ทรงปกครอง" คล้ายกับระบบพระมหากษัตริย์ใน[[สหราชอาณาจักร]]และ[[ญี่ปุ่น]] พระมหากษัตริย์ทรงเป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]] อย่างเป็นทางการและเป็นสัญลักษณ์แห่งสัญลักษณ์ของสันติภาพ เสถียรภาพและสวัสดิภาพของชาติและ[[ชาวเขมร]] ตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญของกัมพูชา<ref>{{cite web|title=Cambodia 1993 (rev. 2008)|url=https://www.constituteproject.org/constitution/Cambodia_2008?lang=en#26|website=Constitute|accessdate=17 April 2015}}</ref>
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กัมพูชาถือเป็นสถาบันที่เก่าแก่ที่สุดเป็นอันดับ 2 ใน[[ทวีปเอเชีย]]รองจากญี่ปุ่น ([[จักรพรรดิญี่ปุ่น]]) พระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันคือ '''[[พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี]]''' ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 114 (รัชกาลที่ 114) ทรงสืบพระราชสันตติวงศ์มาจาก[[ราชวงศ์วรมัน]]
สถาบันพระมหากษัตริย์กัมพูชามีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่ยุคพระเจ้าแตงหวาน
==== การสืบราชสันตติวงศ์ ====
ระบบกษัตริย์ของกัมพูชาไม่เหมือนกับระบบกษัตริย์ส่วนใหญ่ในประเทศอื่น ๆ ที่ราชบัลลังก์จะตกไปสู่ผู้มีลำดับการสืบราชสันตติวงศ์ลำดับถัดไป (ผู้ที่มีศักดิ์สูงสุดในราชวงศ์ หรือพระราชโอรสองค์โตของกษัตริย์พระองค์ก่อน เป็นต้น) และพระมหากษัตริย์ ไม่สามารถเลือกผู้ที่จะมาสืบราชสันตติวงศ์ได้ด้วยตัวเอง แต่ผู้ที่มีสิทธิ์ในการเลือกพระมหากษัตริย์องค์ใหม่นั้นคือ [[กรมปรึกษาราชบัลลังก์]] (Royal Council of the Throne) ซึ่งมีสมาชิกดังนี้
เส้น 286 ⟶ 293:
===ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ===
{{บทความหลัก|ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Dmitry Medvedev with ambassadors 18 October 2010-2.jpeg|thumb|right|เอกอัครราชทูตพระราชอาณาจักรกัมพูชาประจำ[[รัสเซีย]]ในพระนามพระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี ขณะเข้าพบ[[นายกรัฐมนตรีรัสเซีย]] [[ดมีตรี เมดเวเดฟ]]]]
[[ไฟล์:Cambodian passport.jpg|thumb|150px|right|[[หนังสือเดินทางในพระราชอาณาจักรกัมพูชา]]]]
[[ไฟล์:Diplomatic missions in Cambodia.png|thumb|right|220px|ประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับกัมพูชา]]
[[ไฟล์:Dmitry Medvedev with ambassadors 18 October 2010-2.jpeg|thumb|เอกอัครราชทูตพระราชอาณาจักรกัมพูชาประจำ[[รัสเซีย]]ในพระนามพระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี ขณะเข้าพบ[[นายกรัฐมนตรีรัสเซีย]] [[ดมีตรี เมดเวเดฟ]]]]
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของพระราชอาณาจักรกัมพูชาได้ถูกบริหารจัดการโดย[[กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา]]ภายใต้การดูแลของ ฯพณฯ ท่าน[[ปรัก สุคน]]
 
พระราชอาณาจักรกัมพูชายังเป็นประเทศสมาชิกของ[[องค์การสหประชาชาติ]], [[ธนาคารโลก]], และ[[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]] นอกจากนี้ยังเป็นประเทศสมาชิกของ[[ธนาคารพัฒนาเอเชีย]] (ADB), [[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (อาเซียน), และได้เข้าร่วม[[องค์การการค้าโลก]] ในปี ค.ศ. 2004 และในปี ค.ศ. 2005 กัมพูชาได้เข้าร่วมประชุมพิธีการสถาปนา [[การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก]]ที่ได้จัดขึ้นที่ประเทศมาเลเซีย
 
[[ไฟล์:Diplomatic missions in Cambodia.png|thumb|right|220px|ประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับกัมพูชา]]
กัมพูชาได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับหลายประเทศและได้มีสถานทูตต่างประเทศ 20 แห่งในประเทศ<ref>Royal Government of Cambodia.{{cite web|url=http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/country.foreign_embassy.html |title=Foreign Embassies |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070212040416/http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/country.foreign_embassy.html |archivedate=12 February 2007}}</ref> รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียหลายประเทศและประเทศที่มีบทบาทสำคัญในระหว่างการเจรจาสันติภาพที่ปารีสรวมถึงสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, จีน, สหภาพยุโรป (EU),ญี่ปุ่นและรัสเซีย<ref>{{cite web|author1=Dalpino, Catharin E. |author2=Timberman, David G. |url=http://www.asiasociety.org/publications/cambodia_policy.html |title=Cambodia's Political Future: Issues for U.S. Policy|archiveurl=https://web.archive.org/web/20051028015243/http://www.asiasociety.org/publications/cambodia_policy.html |archivedate=28 October 2005|work=Asia Society|date= 26 March 1998}}</ref> อันเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำให้องค์กรการกุศลต่าง ๆ ได้ช่วยเหลือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม,เศรษฐกิจและ[[วิศวกรรมโยธา]]
 
ในขณะที่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1970 และ 1980 ได้ผ่านไปแล้วข้อพิพาทชายแดนระหว่างกัมพูชาและประเทศเพื่อนบ้านยังคงมีอยู่ มีความขัดแย้งในหมู่เกาะนอกชายฝั่งและบางส่วนของเขตแดนกับเวียดนามและเขตแดนทางทะเลที่ไม่ได้กำหนด กัมพูชาและไทยก็มีปัญหาความขัดแย้งชายแดนด้วยการปะทะทางการทหารใน[[กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา]]ในปี ค.ศ. 2008 ที่เกิดขึ้นใกล้บริเวณ[[ปราสาทพระวิหาร]] นำไปสู่การเสื่อมสภาพในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย อย่างไรก็ตามดินแดนพิพาทส่วนใหญ่เป็นของไทย<ref>{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-asia-24897805|title=Preah Vihear temple: Disputed land Cambodian, court rules|work=BBC News|date=11 November 2013|accessdate=11 November 2013}}</ref><ref>L.Tanggahma (Recorded). {{Cite web |url=http://www.icj-cij.org/docket/files/151/17704.pdf |title=Judgment: Request for Interpretation of the Judgment of 15 June 1962 in the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (''Cambodia v. Thailand'') |date=11 November 2013 |publisher=[[International Court of Justice]] |location=The Hague, Netherlands |access-date=16 November 2013 |url-status=dead |archiveurl=https://web.archive.org/web/20131111173337/http://www.icj-cij.org/docket/files/151/17704.pdf |archive-date=11 November 2013 |df=dmy-all }}</ref>
 
===กองทัพ===
{{บทความหลัก|กองทัพกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Royal Cambodian Army soldiers, 2014.jpg|thumb|left|[[กองทัพกัมพูชา|กองทัพพระราชอาณาจักรกัมพูชา]] ('''กองยุทธพลเขมรภูมินท์''') เดินสวนสนามในช่วง[[กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา]] พ.ศ. 2554]]
[[กองทัพกัมพูชา|กองทัพพระราชอาณาจักรกัมพูชา]] มีชื่อทางการว่า ('''กองยุทธพลเขมรภูมินท์''') ประกอบไปด้วย [[กองทัพบกกัมพูชา]], [[กองทัพเรือกัมพูชา]], [[กองทัพอากาศกัมพูชา]]และ[[กองราชอาวุธหัตถ์]] จัดตั้งโดย[[กระทรวงกลาโหมกัมพูชา|กระทรวงกลาโหมแห่งชาติพระราชอาณาจักร]]อยู่ภายใต้คำสั่งของ [[นายกรัฐมนตรีกัมพูชา]]และมีองค์พระมหากษัตริย์ซึ่งก็คือ [[นโรดม สีหมุนี|พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหมุนี]]ทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพและมีนายกรัฐมนตรี[[ฮุน เซน|สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโชฮุนเซน]] ดำรงตำแหน่ง[[ผู้บัญชาการทหารสูงสุด]]
 
เส้น 652 ⟶ 658:
== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Boat_Racing_Bon_Om_Touk.jpg|280250px|left|thumb|การแข่งขันพายเรือประจำปีในงาน [[บุญอมตูก]]]]
[[ไฟล์:Art and culture.JPG|thumb|ชุดซัมปอตคือชุดประจำชาติของกัมพูชา โดยได้รับพระราชทานจากกษัตริย์สยาม สมัยราชกาลที่ 5]]
[[ไฟล์:Art and culture.JPG|thumb|righf|เจ้าบ่าวสวมชุด[[ครุย]]และถือ[[ดาบ]] ส่วนเจ้าสาวสวมชุด[[สไบ]] ตามประเพณีแต่งงานของกัมพูชาที่ถือคติ[[ตำนานพระทอง-นางนาค]]]]
[[ไฟล์:sampeah.jpg|thumb|[[ซัมเปี๊ยะห์]] (การทักทายแบบกัมพูชา)]]
ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ[[วัฒนธรรมกัมพูชา]] ได้แก่ พุทธศาสนา[[เถรวาท|นิกายเถรวาท]] [[ศาสนาฮินดู]] ลัทธิล่าอาณานิคมของฝรั่งเศส วัฒนธรรมอังกอร์ และโลกาภิวัตน์สมัยใหม่ กระทรวงวัฒนธรรมและวิจิตรศิลป์กัมพูชามีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมกัมพูชา วัฒนธรรมกัมพูชาไม่เพียงแต่รวมวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยในที่ราบลุ่มเท่านั้น แต่ยังรวมถึงชาวเขากว่า 20 เผ่าที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่เรียกขานว่า''แขมรเลอ'' (Khmer Loeu) ซึ่งเป็นคำที่[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ|สมเด็จนโรดม สีหนุ]] บัญญัติขึ้นเพื่อส่งเสริมความสามัคคีระหว่างชาวเขาและชาวลุ่มน้ำ ชาวกัมพูชาในชนบทสวมผ้าพันคอแบบกรอมซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของเสื้อผ้ากัมพูชา
 
[[ไฟล์:sampeah.jpg|thumb|[[ซัมเปี๊ยะห์]] (การทักทายแบบกัมพูชา)]]
'''[[ซัมเปี๊ยะห์]]''' เป็นคำทักทายแบบกัมพูชาดั้งเดิมหรือวิธีการแสดงความเคารพต่อผู้อื่น วัฒนธรรมกัมพูชาที่พัฒนาและเผยแพร่โดยอาณาจักรเขมรมีรูปแบบการฟ้อนรำ สถาปัตยกรรม และประติมากรรมที่โดดเด่น ซึ่งได้มีการแลกเปลี่ยนกับลาวและไทยที่อยู่ใกล้เคียงตลอดประวัติศาสตร์ [[นครวัด]] (นครวัด แปลว่า "เมือง" และวัด แปลว่า "วัด") เป็นตัวอย่างสถาปัตยกรรมเขมรที่ได้รับการอนุรักษ์ไว้อย่างดีที่สุดในสมัยนครวัด พร้อมด้วยวัดอื่น ๆ อีกหลายร้อยแห่งที่มีการค้นพบรอบ ๆ ภูมิภาค<ref>{{Cite web|date=2008-09-24|title=VietNamNet - A Khmer pagoda stores unique leaf prayer books|url=http://english.vietnamnet.vn/travel/2008/09/805123/|website=web.archive.org|access-date=2021-10-08|archive-date=2008-09-24|archive-url=https://web.archive.org/web/20080924135657/http://english.vietnamnet.vn/travel/2008/09/805123/|url-status=bot: unknown}}</ref>
 
[[ไฟล์:Boat_Racing_Bon_Om_Touk.jpg|280px|thumb|การแข่งขันพายเรือประจำปีในงาน [[บุญอมตูก]]]]
'''[[บุญอมตูก]]''' (ประเพณีแข่งเรือยาวเทศกาลน้ำและพระจันทร์ของกัมพูชา) การแข่งขันพายเรือประจำปีเป็นเทศกาลประจำชาติกัมพูชาที่มีผู้เข้าร่วมมากที่สุดโดยการแข่งเรือยาวนั้นได้รับอิทธิพลมาจากสยามในช่วงที่สยามปกครอง จัดขึ้นในช่วงปลายฤดูฝนเมื่อ[[แม่น้ำโขง]]เริ่มจมกลับสู่ระดับปกติทำให้แม่น้ำโตนเลสาบไหลย้อนกลับได้ ประมาณ 10% ของประชากรกัมพูชาเข้าร่วมกิจกรรมนี้ในแต่ละปีเพื่อขอบคุณดวงจันทร์ ชมดอกไม้ไฟ รับประทานอาหาร และเข้าร่วมการแข่งเรือในบรรยากาศแบบงานรื่นเริง กีฬายอดนิยม ได้แก่ [[ฟุตบอล]] เตะทราย และ[[หมากรุก]] ตามปฏิทินสุริยคติคลาสสิกของอินเดียและพุทธศาสนานิกายเถรวาท ปีใหม่กัมพูชาเป็นวันหยุดสำคัญที่จัดขึ้นในเดือนเมษายน
 
ทุกปี ชาวกัมพูชาจะไปเยี่ยมชมเจดีย์ทั่วประเทศเพื่อเฉลิมฉลองวันบรรพบุรุษ ในช่วงเทศกาล 15 ​​วัน ผู้คนจะสวดมนต์และอาหารให้กับวิญญาณของญาติที่ล่วงลับไปแล้ว สำหรับชาวกัมพูชาส่วนใหญ่ เป็นเวลาที่ต้องระลึกถึงญาติพี่น้องซึ่งเสียชีวิตระหว่างการปกครองของเขมรแดง ค.ศ. 1975-1979
เส้น 665 ⟶ 673:
{{multiple image
| perrow = 2
| total_width = 340260
| image1 = Currysaraman.jpg
| image2 = Prahokktis.jpg
| image3 = Somlorkoko.jpg
| image4 = Num Banh ChokBanchok.jpg
| image5 = 2016 Phnom Penh, Amok trey (01).jpg
| footer = ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: [[แกงกะหรี่]] (''สัมลอร์การี''), [[ปลาร้า]]เขมร (''ปร็อฮก''), [[ขนมจีน]]เขมร ''[[นมปันเจ๊าะ]]'' และ ''[[สัมลอร์มะจู]]''
| footer = อาหารกัมพูชาที่มีชื่อเสียง ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน ลงล่าง: ''สัมลอร์การี'' ([[แกงกะหรี่]]เขมร), ''[[ปรอฮก]]'' ([[ปลาร้า]]เขมร), ''[[นมบัญเจาะ]]'' ([[ขนมจีน]]เขมร), ''[[สัมลอร์มะจู]]'' (''[[แกงส้ม]]เขมร'') และ''[[อาม็อกเตร็ย]]'' (''[[ห่อหมก]]เขมร'')
| align =
| direction =
เส้น 677 ⟶ 686:
| caption2 =
}}
[[ไฟล์:Angkor - Bayon - 052 At Home (8581882636).jpg|thumb|250px|ภาพแกะสลักแห่งศตวรรษที่ 12 ที่[[ปราสาทบายน]] แสดงภาพ[[ชาวเขมร]]โบราณกำลังทำอาหาร]]
[[ข้าว]]เป็นอาหารหลักเช่นเดียวกับในประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปลาจาก[[แม่น้ำโขง]]และ[[โตนเลสาบ]]ก็เป็นส่วนสำคัญของอาหารเช่นกัน อุปทานของปลาและผลิตภัณฑ์จากปลาสำหรับอาหารและการค้า ณ ปี 2000 คือ 20 กิโลกรัม (44 ปอนด์) ต่อคนหรือ 2 ออนซ์ต่อวันต่อคน<ref>{{Cite web |date=2004-07-20 |title=Coastal and Marine Ecosystems -- Cambodia |url=http://www.earthtrends.wri.org/pdf_library/country_profiles/Coa_cou_116.pdf |archive-date=2004-07-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20040720042809/http://www.earthtrends.wri.org/pdf_library/country_profiles/Coa_cou_116.pdf |website=EarthTrends |df=dmy-all}}</ref> ปลาบางชนิดสามารถถนอมอาหารเพื่อเก็บไว้ได้นานขึ้น อาหารของกัมพูชาประกอบด้วย[[ผลไม้]]เมืองร้อน [[ซุป]] และ[[ก๋วยเตี๋ยว]] ส่วนผสมหลักคือ มะกรูด ตะไคร้ กระเทียม น้ำปลา ซีอิ๊ว มะขาม ขิง ซอสหอยนางรม กะทิ และพริกไทยดำ อาหารบางอย่าง ได้แก่ น้ำบาลโชค (នំបញ្ចុក), ปลาอามก (អាម៉ុកត្រី) และ aping (អាពីង) ได้รับความนิยม กัมพูชายังขึ้นชื่อในด้านการมีอาหารข้างทางที่หลากหลายซึ่งได้รับความนิยมสูง<ref>{{Cite web|last=Chan|first=Wing Yan|date=2015-07-21|title=10 Delicious Street Food Dishes You Must Try in Cambodia|url=https://theculturetrip.com/asia/cambodia/articles/the-top-10-must-try-street-food-dishes-in-phnom-penh/|website=Culture Trip}}</ref> อิทธิพลของชาวฝรั่งเศสที่มีต่ออาหารกัมพูชา ได้แก่ แกงเผ็ดกัมพูชากับขนมปังบาแกตต์ปิ้ง ขนมปังบาแกตต์ที่ปิ้งแล้วจุ่มลงในแกงและรับประทาน แกงเผ็ดกัมพูชายังนิยมทานกับข้าวและวุ้นเส้น อาหารที่ได้รับความนิยมมากที่สุด กุ้ยเตียว ก็คือ ก๋วยเตี๋ยวต้มยำหมูใส่กระเทียมเจียว หอมใหญ่ หัวหอมใหญ่ ที่อาจมีท็อปปิ้งต่าง ๆ เช่น ลูกชิ้น กุ้ง ตับหมู หรือผักกาดหอม พริกไทยกำปอตขึ้นชื่อว่าดีที่สุดในโลกและมักทานพร้อมกับปูและปลาหมึกในร้านอาหารริมแม่น้ำ
 
ส่วนอาหารกัมพูชาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ''[[สัมลอร์การี]]'' (សម្លការី) [[แกงกะหรี่]], ''[[ปรอฮก]]'' (ប្រហុក) [[ปลาร้า]]เขมร, ''[[นมบัญเจาะ]]'' (នំបញ្ចុក) [[ขนมจีน]]เขมร, ''[[สัมลอร์มะจู]]'' (សម្លម្ជូរ) [[แกงส้ม]]เขมร และ''[[อาม็อกเตร็ย]]'' (អាម៉ុកត្រី) [[ห่อหมก]]เขมร
 
ชาวกัมพูชาดื่มชาในปริมาณมาก<ref>{{Cite web|last=Smits|first=Johann|title=Khmer brew: exploring the parviflora tea strain|url=https://www.phnompenhpost.com/lifestyle/khmer-brew-exploring-parviflora-tea-strain|website=www.phnompenhpost.com|language=en}}</ref> ซึ่งปลูกใน[[จังหวัดมณฑลคีรี]]และรอบ ๆ ''te krolap'' เป็นชาที่เข้มข้น ทำจากการใส่น้ำและใบชาจำนวนมากลงในแก้วขนาดเล็ก วางจานรองไว้ด้านบน แล้วพลิกสิ่งทั้งหมดกลับหัวเพื่อชง ก่อนจะจะถูกเทลงในถ้วยอีกใบและเติมน้ำตาลในปริมาณมาก แต่ไม่ใส่นม ชามะนาว ''te kdau kroch chhma'' ทำจากชาจีนฝุ่นแดงและน้ำมะนาว ให้ความสดชื่นทั้งร้อนและเย็น และโดยทั่วไปจะเสิร์ฟพร้อมกับน้ำตาลในปริมาณมาก ในส่วนของกาแฟ เมล็ดกาแฟมักจะนำเข้าจากประเทศลาวและเวียดนาม แม้ว่ากาแฟที่ผลิตในประเทศจาก[[จังหวัดรัตนคีรี]]และจังหวัดมณฑุลคีรีจะสามารถพบได้ในบางพื้นที่ กาแฟกัมพูชามักคั่วด้วยเนยและน้ำตาล รวมทั้งส่วนผสมอื่น ๆ ตั้งแต่เหล้ารัมไปจนถึงไขมันหมู ทำให้เครื่องดื่มมีกลิ่นแปลก ๆ แต่เป็นเอกลักษณ์ กัมพูชามีโรงเบียร์อุตสาหกรรมหลายแห่ง ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัด[[พระสีหนุ (เมือง)|พระสีหนุ]]และ[[พนมเปญ]]<ref>{{Cite web|last=AsiaLIFE|title=Craft Beer in Cambodia|url=https://www.asialifemagazine.com/cambodia/craft-beer-cambodia/|website=AsiaLIFE Cambodia|language=en-US|access-date=2021-10-08|archive-date=2017-08-11|archive-url=https://web.archive.org/web/20170811011706/https://www.asialifemagazine.com/cambodia/craft-beer-cambodia/|url-status=dead}}</ref> นอกจากนี้ยังมีโรงเบียร์ขนาดเล็กจำนวนมากในพนมเปญและเสียมราฐ ระหว่างปี 2014 ถึงปี 2018 จำนวนโรงเบียร์คราฟต์เพิ่มขึ้นจากสองเป็นเก้าแห่ง ณ ปี 2019 มีโรงเบียร์หรือโรงเบียร์ขนาดเล็ก 12 แห่งในกัมพูชา ไวน์ข้าวเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยอดนิยม และมักจะผสมกับผลไม้หรือสมุนไพร<ref>{{Cite web|date=2019-05-12|title=Brewing up nicely: Cambodia’s rapidly growing taste for craft beer {{!}} ASEAN Today|url=https://www.aseantoday.com/2019/05/brewing-up-nicely-cambodias-rapidly-growing-taste-for-craft-beer/|website=www.aseantoday.com|language=en-US}}</ref>
เส้น 687 ⟶ 697:
=== ศิลปะการแสดง ===
{{บทความหลัก|นาฏศิลป์ในประเทศกัมพูชา}}
{{multiple image|caption_align=center|header_align=center
| align perrow = right2
| total_width = 300
| direction = vertical
| image1 = Angkor Wat - 050 Apsaras (8580603733).jpg
| width = 235
| image2 = Danseuses kmer (2).JPG|
| image1 = Angkor Wat - 050 Apsaras (8580603733).jpg
| image3 = Lakhon Khol Art painting.jpg
| caption1 = ภาพสลักนาง[[อัปสร]]ที่[[นครวัด]]
| image4 = Cambodian dance Reamker.png
| image2 = Danseuses kmer (2).JPG|
| image5 =
| caption2 = การแสดงนาฏศิลป์ระบำเทพอัปสรา
| footer = การแสดงกัมพูชา ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง: ภาพสลักนาง[[อัปสร]]ที่[[นครวัด]], การแสดงนาฏศิลป์ระบำเทพอัปสรา, ศิลปะ'''[[เรียมเกร์]]''' ([[รามเกียรติ์]]ฉบับกัมพูชา), '''[[ละโคนโขล]]''' (โขนเขมร) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] รัชกาลที่ 109 แห่งกัมพูชา
| align =
| direction = vertical
| alt1 =
| caption1 =
| caption2 =
}}
[[ไฟล์:Lakhon Khol Art painting.jpg|170px|thumb|ศิลปะ'''[[เรียมเกร์]]''' ([[รามเกียรติ์]]ฉบับกัมพูชา)]]
[[ไฟล์:Cambodian dance Reamker.png|280px|thumb|'''[[ละโคนโขล]]'''
(โขนเขมร) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] รัชกาลที่ 109 แห่งกัมพูชา]]
การเต้นรำของกัมพูชาสามารถแบ่งออกเป็นสามประเภทหลัก: นาฏศิลป์ท้องถิ่น นาฏศิลป์พื้นบ้าน และนาฏศิลป์ทั่วไป ต้นกำเนิดที่แท้จริงของนาฏศิลป์กัมพูชาเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ นักวิชาการพื้นเมืองส่วนใหญ่สันนิษฐานว่าการเต้นรำสมัยใหม่ย้อนไปในสมัยของพระนคร<ref>Cravath, Paul (1986). "The Ritual Origins of the Classical Dance Drama of Cambodia". ''Asian Theatre Journal''. '''3''' (2): 179–203. {{ISSN|0742-5457}}.</ref> โดยเห็นความคล้ายคลึงกันในการแกะสลักของวัดในสมัยนั้น ขณะที่คนอื่น ๆ เชื่อว่ารูปแบบการรำสมัยใหม่ได้เรียนรู้ (หรือเรียนรู้ใหม่) จากนักเต้นในราชสำนักสยามใน ค.ศ. 1800 นาฏศิลป์เขมรเป็นรูปแบบของศิลปะการแสดงที่มีสไตล์ซึ่งจัดตั้งขึ้นในราชสำนักของกัมพูชาซึ่งจัดแสดงเพื่อความบันเทิงและเพื่อวัตถุประสงค์ในพิธีการ การเต้นรำเป็นกิจกรรมโดยชายและหญิงที่แต่งกายอย่างประณีตและได้รับการฝึกฝนมาอย่างดีในโอกาสสาธารณะ หรือเพื่อสร้างเรื่องราวดั้งเดิมและบทกวีมหากาพย์ เช่น '''[[ละโคนโขล]]''' ที่มักนำบทในวรรณคดีอย่าง '''[[เรียมเกร์]]''' เวอร์ชันเขมรของ[[รามเกียรติ์]]มาละเล่น โดยมักรู้จักกันอย่างเป็นทางการในชื่อ ''ระบำพระราชทรัพย์'' (របាំព្រះរាជទ្រព្ "โรงละครแห่งความมั่งคั่งของราชวงศ์") ถูกกำหนดให้เป็นเพลงของวงดนตรีพร้อมด้วยนักร้องนำ นอกจากนี้นาฏศิลป์ในราชสำนักกัมพูชายังมีการแสดงอย่าง'''[[ระบำเทพอัปสรา]]''' ที่นักแสดงมักจะแต่งกายอย่างนาง[[อัปสร]]ในยุค[[จักรวรรดิเขมร]]โบราณ
 
เส้น 705 ⟶ 718:
=== ดนตรี ===
[[ไฟล์:VannDa.jpg|right|160px|thumb|'''[[วัณณ์ดา (นักร้อง)|วัณณ์ดา]]''' (VannDa) ศิลปินฮิปฮอปและแร็ปเปอร์กัมพูชา]]
[[ไฟล์:TonPrincess ChanseymaNorodom 960Jenna.pngjpg|right|160120px|thumb|'''[[ตอนนโรดม จันสีมาเจนณา]]''' (Ton Chanseyma) ศิลปินฮิปฮอปนักร้องและป็อปนักแสดงกัมพูชา]]
ดนตรีกัมพูชาดั้งเดิมมีมาตั้งแต่สมัย[[จักรวรรดิเขมร|อาณาจักรเขมร]]<ref>{{Cite web |url=https://www.umbc.edu/eol/cambodia/histcmus.htm |title=Cambodian music history |publisher=University of Maryland, Baltimore County}}</ref> ระบำของราชวงศ์ เช่น ระบำอัปสราเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมกัมพูชา เช่นเดียวกับระบำ ''Mahori'' รูปแบบดนตรีในชนบท ได้แก่ ''Chapei'' และ ''Ayai'' เป็นที่นิยมในหมู่คนรุ่นเก่าและส่วนใหญ่มักจะเป็นการแสดงเดี่ยวของนักดนตรีชายด้วยกีตาร์กัมพูชา (chapei) เนื้อเพลงมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับศีลธรรมหรือศาสนา<ref>{{Cite web |url=http://worldmusic.nationalgeographic.com/view/page.basic/country/content.country/cambodia_527 |title=Cambodia |website=Nat Geo Music |archive-url=https://web.archive.org/web/20120818104047/http://worldmusic.nationalgeographic.com/view/page.basic/country/content.country/cambodia_527 |archive-date=2012-08-18 |df=dmy-all |url-status=dead}}</ref>
 
ดนตรียอดนิยมของกัมพูชาแสดงด้วยเครื่องดนตรีสไตล์ตะวันตกหรือผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีดั้งเดิมและดนตรีตะวันตก เพลงแดนซ์แต่งขึ้นในสไตล์เฉพาะสำหรับการเต้นรำทางสังคม เพลงของนักร้องประสานเสียง [[สิน ศรีสมุทร]], รส เสรีสุทธา และ [[แปน รอน]] ในทศวรรษที่ 1960 ถึง 1970 ถือเป็นเพลงป๊อปคลาสสิกของกัมพูชา ในยุคเขมรแดง นักร้องคลาสสิกและเป็นที่นิยมมากมายในช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970 ถูกสังหาร อดอยากจนเสียชีวิต หรือถูกบังคับใช้งานหนักจนตาย และมาสเตอร์เทปดั้งเดิมจำนวนมากจากยุคนั้นสูญหายหรือถูกทำลาย ในช่วงทศวรรษ 1980 แก้ว สุทัต (ผู้ลี้ภัยที่อพยพไปตั้งรกรากใน[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]) และคนอื่น ๆ ได้สืบทอดมรดกของนักร้องคลาสสิก ซึ่งได้ทำเพลงยอดนิยมสมัยใหม่
 
ส่วนด้านดนตรีสมัยใหม่ผสมผสานกับดนตรีพื้นบ้านเขมรโบราณที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน คือ '''[[วัณณ์ดา (นักร้อง)|วัณณ์ดา]]''' (VannDa) เป็นศิลปินแร็ปและฮิปฮอปที่ผสมผสานกับดนตรีพื้นบ้านเขมรโบราณ ผลงานเขาซึ่งเป็นที่รู้จักจากเพลง '''Time To Rise''' และ '''Queen Bee''' ในปี ค.ศ. 2021 , '''[[นโรดม เจนณา]]''' นักแสดงและนักร้องกัมพูชารุ่นเยาว์, วง '''KMENG Khmer''' ที่ออกผลงานเพลงเศรษฐี (សេដ្ឋី) และ โขกเจิง (ខកជើង) ในปี ค.ศ. 2023 และ '''Pou Khlaing KHMER''' ในเพลง (NekaNe 2023) នឹកនា 2023 ทั้งนี้ยังมี '''[[ตอน จันสีมา]]''' (Ton Chanseyma) ศิลปินฮิปฮอปและป็อปกัมพูชาที่มีผลงานเพลง '''CambodiaCambodian Pride'''
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}