ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aec9988 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
(ไม่แสดง 25 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน)
บรรทัด 2:
{{เปลี่ยนทาง|กัมพูชา}}
{{Infobox country
| conventional_long_name = พระราชอาณาจักรกัมพูชา
| common_name = กัมพูชา
| native_name = {{ubl|{{native name|km|ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា|italics=off}}}}
บรรทัด 41:
| leader_name2 = [[ฮุน มาแณต|สมเด็จมหาบวรธิบดี ฮุน มาแณต]]
| leader_title3 = [[รายชื่อประธานพฤฒสภากัมพูชา|ประธานพฤฒสภา]]
| leader_name3 = [[เซย์ฮุน ซัมเซน|สมเด็จวิบุลเสนาภักดีอัครมหาเสนาบดี สายเดโช ฌุมฮุน เซน]]
| leader_title4 = [[รายชื่อประธานรัฐสภากัมพูชา|ประธานรัฐสภา]]
| leader_name4 = [[เฮงฆวน สำรินสุดารี|สมเด็จอัครมหาพญาจักรีรัฐสภาธิการธิบดี เฮงฆวน สัมรินสุดารี]]
| legislature = [[สภาผู้แทนราษฎรกัมพูชา|สภาผู้แทนราษฎร]]
| upper_house = [[พฤฒสภากัมพูชา|พฤฒสภา]]
| lower_house = [[รัฐสภากัมพูชา|รัฐสภา]]
| sovereignty_type = [[ประวัติศาสตร์กัมพูชา|ก่อตั้ง]]
| established_event1 = [[อาณาจักรฟูนาน]]
| established_event1 =
| established_date1 = ค.ศ. 50/68–ค.ศ. 550/627
| established_date1 =
| established_event2 = [[เจนละ|อาณาจักรเจนละ]]
| established_event2 =
| established_date2established_date2 = ค.ศ. 550–802
| established_event3 = [[จักรวรรดิเขมร]]
| established_date3 = ค.ศ. 802–1431
| established_event4 = [[ดินแดนสยาม|ภายใต้การปกครองยุคมืดของอาณาจักรสยามกัมพูชา|ยุคมืด]]
| established_date4 = ค.ศ. 1431–1863
| established_event5 = [[กัมพูชาในอารักขาของฝรั่งเศส|อารักขาของฝรั่งเศส]]
บรรทัด 109:
| cctld = [[.kh]]
}}
'''กัมพูชา''' ({{lang-km|កម្ពុជា, กมฺพุชา}}) ชื่ออย่างเป็นทางการว่า '''พระราชอาณาจักรกัมพูชา''' ({{lang-km|ព្រះរាជាណាចក្រកម្ពុជា, พฺระราชาณาจกฺรกมฺพุชา}}) เป็นประเทศตั้งอยู่ในส่วนใต้ของ[[คาบสมุทรอินโดจีน]]ใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] มีพื้นที่ 181,035 ตารางกิโลเมตร มีพรมแดนทิศตะวันตกติดต่อกับ[[ประเทศไทย]] ทิศเหนือติดกับประเทศไทยและ[[ประเทศลาว|ลาว]] ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับ[[ประเทศเวียดนาม|เวียดนาม]] และทิศตะวันตกเฉียงใต้ติด[[อ่าวไทย]] ด้วยประชากรกว่า 15 ล้านคน กัมพูชาเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดอันดับที่ 66 ของโลก [[ศาสนาพุทธ]][[นิกายเถรวาท]]เป็นศาสนาประจำชาติ ซึ่งประชากรกัมพูชานับถือมากกว่า 97%<ref name="CIACB" /> ชนกลุ่มน้อยในประเทศมี[[ชาวเวียดนาม]] [[ชาวจีน]] [[ชาวจาม]] และชาวเขากว่า 30 เผ่า<ref>{{cite web |url=http://news.xinhuanet.com/english2010/culture/2010-08/03/c_13428465.htm |title=Cambodia to celebrate day for indigenous people near Angkor Wat |publisher=News.xinhuanet.com |access-date=15 March 2013 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20130825133021/http://news.xinhuanet.com/english2010/culture/2010-08/03/c_13428465.htm |archive-date=25 August 2013}}</ref> เมืองหลวงและเมืองใหญ่สุด คือ [[พนมเปญ]] ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม
 
ราชอาณาจักรกัมพูชาปกครองแบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]] มี[[พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี]] มาจากการเลือกตั้งโดยราชสภาเพื่อราชบัลลังก์ เป็น[[รายนามประมุขแห่งรัฐกัมพูชา|ประมุขแห่งรัฐ]] ประมุขรัฐบาล คือ [[สมเด็จอัครมหาเสนาบดีเดโช ฮุน เซน]] ผู้ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้นำที่ดำรงตำแหน่งนานที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยได้ปกครองกัมพูชามาเป็นระยะเวลากว่า 25 ปี

ใน พ.ศ. 1345 [[พระเจ้าแตงหวานชัยวรมันที่ (ตระซ็อกประเอม)2]] สถาปนาปราบดาภิเษกตนขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ของเขมรหลังการสิ้นสุดลงของกษัตริย์วรมัน อันเป็นจุดเริ่มต้นของ[[จักรวรรดิขะแมร์]] อำนาจและความมั่งคังมหาศาลของ[[จักรวรรดิเขมร|จักรวรรดิขะแมร์]]ที่มีพระมหากษัตริย์ครองราชสมบัติสืบต่อกันมานั้นได้มีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นเวลากว่า 600 ปี กัมพูชาถูกปกครองเป็นเมืองขึ้นของประเทศสยามนานกว่า 500 ปีเพื่อนบ้าน กระทั่งถูก[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ยึดเป็น[[อาณานิคม]]ในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 กัมพูชาได้รับเอกราชใน พ.ศ. 2496 [[สงครามเวียดนาม]]ได้ขยายเข้าสู่กัมพูชา ทำให้[[เขมรแดง]]ขึ้นสู่อำนาจ ซึ่งยึดกรุงพนมเปญได้ใน พ.ศ. 2518 ก่อนจะผงาดขึ้นอีกหลายปีให้หลังภายในเขตอิทธิพล[[สังคมนิยม]]เป็น[[สาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา]]กระทั่ง พ.ศ. 2536 ภายหลัง[[สนธิสัญญาสันติภาพปารีส (ค.ศ. 1783)|สนธิสัญญาสันติภาพปารีส]] พ.ศ. 2534 ซึ่งเป็นการยุติสงครามกับเวียดนามอย่างเป็นทางการ กัมพูชาถูกควบคุมโดยสหประชาชาติในช่วงสั้น ๆ (พ.ศ. 2535-2536) หลังจากหลายปีแห่งการโดดเดี่ยว ชาติซึ่งเสียหายจากสงครามก็ได้รวมเข้าด้วยกันอีกครั้งภายใต้ระบอบ[[ราชาธิปไตย]]ในปีเดียวกันนั้นเอง
 
ในการบูรณะประเทศหลัง[[สงครามกลางเมืองกัมพูชา|สงครามกลางเมือง]]นานหลายทศวรรษ กัมพูชามีความคืบหน้าอย่างรวดเร็วในด้านเศรษฐกิจและทรัพยากรมนุษย์ ประเทศกัมพูชาได้มีหนึ่งในบันทึกเศรษฐกิจที่ดีที่สุดในเอเชีย โดยมีอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเฉลี่ย 6.0% เป็นเวลานาน 10 ปี ภาคสิ่งทอ [[เกษตรกรรม]] [[การก่อสร้าง|ก่อสร้าง]] เสื้อผ้าและ[[การท่องเที่ยว]]ที่เข้มแข็งได้นำไปสู่[[การลงทุน]]จากต่างชาติและการค้าระหว่างประเทศ<ref>[http://www.phnompenhpost.com/index.php/2011051849188/Business/cambodia-to-outgrow-ldc-status-by-2020.html Cambodia to outgrow LDC status by 2020 | Business | The Phnom Penh Post – Cambodia's Newspaper of Record] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110521094658/http://www.phnompenhpost.com/index.php/2011051849188/Business/cambodia-to-outgrow-ldc-status-by-2020.html |date=2011-05-21 }}. The Phnom Penh Post (May 18, 2011). Retrieved on June 20, 2011.</ref> ใน พ.ศ. 2548 มีการพบแหล่ง[[น้ำมัน]]และ[[แก๊สธรรมชาติ]]ใต้น่านน้ำอาณาเขตของกัมพูชา การขุดเจาะเชิงพาณิชย์เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2556 รายได้จากน้ำมันสามารถมีผลต่อเศรษฐกิจกัมพูชาอย่างมาก<ref>{{cite news|title=Oil Revenue Not Likely Until 2013: Ministry|author=Ek Madra|date=January 19, 2007|agency=Reuters|url=http://cambotoday.blogspot.com/2009/06/oil-revenue-not-likely-until-2013.html|accessdate=December 19, 2011|archiveurl=https://web.archive.org/web/20120118093421/http://cambotoday.blogspot.com/2009/06/oil-revenue-not-likely-until-2013.html|archivedate=2012-01-18|url-status=live}}</ref>
บรรทัดที่ 118 ⟶ 120:
 
== นิรุกติศาสตร์ ==
{{Listen
|filename = Km-ខ្មែរ.ogg
|title = คำว่า '''เขมร''' คมาย (ขะแมร์/ขแมร์) ในภาษาเขมร
|description =
|format = [[Ogg]]
}}
'''''Cambodia''''' และ '''''Kâmpŭchéa''' (កម្ពុជា )'' เป็นชื่อประเทศใน[[ภาษาอังกฤษ]]และ[[ภาษาเขมร]]ซึ่งทั้งสองคำมาจากการแผลงคำใน[[ภาษาฝรั่งเศส]] '''''Cambodge''''' ซึ่ง[[ชาวฝรั่งเศส]]ใช้เรียกดินแดน[[จักรวรรดิเขมร|จักรวรรดิจักรเขมร]]ในยุคโบราณ และชาติตะวันตกอื่น ๆ เริ่มมีการกล่าวถึงชื่อประเทศกัมพูชาตั้งแต่ ค.ศ. 1524 เมื่ออันโตนิโอ พิกาเฟตตา (นักสำรวจชาวอิตาลีที่ติดตาม[[เฟอร์ดินานด์ มาเจลลัน]] ในการแล่นเรือรอบโลก) มีการอ้างถึงชื่อประเทศกัมพูชาในบันทึกการเดินทางของเขาในชื่อ ''Camogia''<ref>{{Cite web|title=Relazione del primo viaggio intorno al mondo - Wikisource|url=https://it.wikisource.org/wiki/Relazione_del_primo_viaggio_intorno_al_mondo|website=it.wikisource.org|language=it}}</ref> และเมื่อเวลาผ่านไป ผู้คนได้เรียกคำนี้ว่า ''Cambodia''
 
บรรทัดที่ 285 ⟶ 293:
===ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ===
{{บทความหลัก|ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Dmitry Medvedev with ambassadors 18 October 2010-2.jpeg|thumb|right|เอกอัครราชทูตพระราชอาณาจักรกัมพูชาประจำ[[รัสเซีย]]ในพระนามพระเจ้ากรุงกัมพูชาธิบดี ขณะเข้าพบ[[นายกรัฐมนตรีรัสเซีย]] [[ดมีตรี เมดเวเดฟ]]]]
[[ไฟล์:Diplomatic missions in Cambodia.png|thumb|right|250220px|ประเทศที่มีความสัมพันธ์ทางการทูตกับกัมพูชา]]
 
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของพระราชอาณาจักรกัมพูชาได้ถูกบริหารจัดการโดย[[กระทรวงการต่างประเทศกัมพูชา]]ภายใต้การดูแลของ ฯพณฯ ท่าน[[ปรัก สุคน]]
 
บรรทัดที่ 293 ⟶ 301:
กัมพูชาได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับหลายประเทศและได้มีสถานทูตต่างประเทศ 20 แห่งในประเทศ<ref>Royal Government of Cambodia.{{cite web|url=http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/country.foreign_embassy.html |title=Foreign Embassies |archiveurl=https://web.archive.org/web/20070212040416/http://www.cambodia.gov.kh/unisql1/egov/english/country.foreign_embassy.html |archivedate=12 February 2007}}</ref> รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านในเอเชียหลายประเทศและประเทศที่มีบทบาทสำคัญในระหว่างการเจรจาสันติภาพที่ปารีสรวมถึงสหรัฐอเมริกา, ออสเตรเลีย, แคนาดา, จีน, สหภาพยุโรป (EU),ญี่ปุ่นและรัสเซีย<ref>{{cite web|author1=Dalpino, Catharin E. |author2=Timberman, David G. |url=http://www.asiasociety.org/publications/cambodia_policy.html |title=Cambodia's Political Future: Issues for U.S. Policy|archiveurl=https://web.archive.org/web/20051028015243/http://www.asiasociety.org/publications/cambodia_policy.html |archivedate=28 October 2005|work=Asia Society|date= 26 March 1998}}</ref> อันเป็นผลมาจากความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทำให้องค์กรการกุศลต่าง ๆ ได้ช่วยเหลือโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม,เศรษฐกิจและ[[วิศวกรรมโยธา]]
 
ในขณะที่ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 1970 และ 1980 ได้ผ่านไปแล้วข้อพิพาทชายแดนระหว่างกัมพูชาและประเทศเพื่อนบ้านยังคงมีอยู่ มีความขัดแย้งในหมู่เกาะนอกชายฝั่งและบางส่วนของเขตแดนกับเวียดนามและเขตแดนทางทะเลที่ไม่ได้กำหนด กัมพูชาและไทยก็มีปัญหาความขัดแย้งชายแดนด้วยการปะทะทางการทหารใน[[กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา]]ในปี ค.ศ. 2008 ที่เกิดขึ้นใกล้บริเวณ[[ปราสาทพระวิหาร]] นำไปสู่การเสื่อมสภาพในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกับไทย อย่างไรก็ตามดินแดนพิพาทส่วนใหญ่เป็นของกัมพูชา แต่การรวมกันของไทยที่ไม่เคารพกฎหมายระหว่างประเทศการสร้างกองทหารของไทยในพื้นที่และการขาดทรัพยากรสำหรับกองทัพกัมพูชาได้ทิ้งสถานการณ์ไว้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1962<ref>{{cite news|url=https://www.bbc.co.uk/news/world-asia-24897805|title=Preah Vihear temple: Disputed land Cambodian, court rules|work=BBC News|date=11 November 2013|accessdate=11 November 2013}}</ref><ref>L.Tanggahma (Recorded). {{Cite web |url=http://www.icj-cij.org/docket/files/151/17704.pdf |title=Judgment: Request for Interpretation of the Judgment of 15 June 1962 in the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (''Cambodia v. Thailand'') |date=11 November 2013 |publisher=[[International Court of Justice]] |location=The Hague, Netherlands |access-date=16 November 2013 |url-status=dead |archiveurl=https://web.archive.org/web/20131111173337/http://www.icj-cij.org/docket/files/151/17704.pdf |archive-date=11 November 2013 |df=dmy-all }}</ref>
 
===กองทัพ===
บรรทัดที่ 650 ⟶ 658:
== วัฒนธรรม ==
{{บทความหลัก|วัฒนธรรมกัมพูชา}}
[[ไฟล์:Boat_Racing_Bon_Om_Touk.jpg|280250px|left|thumb|การแข่งขันพายเรือประจำปีในงาน [[บุญอมตูก]]]]
[[ไฟล์:Art and culture.JPG|thumb|righf|เจ้าบ่าวสวมชุด[[ครุย]]และถือ[[ดาบ]] ส่วนเจ้าสาวสวมชุด[[สไบ]] ตามประเพณีแต่งงานของกัมพูชาที่ถือคติ[[ตำนานพระทอง-นางนาค]]]]
[[ไฟล์:sampeah.jpg|thumb|[[ซัมเปี๊ยะห์]] (การทักทายแบบกัมพูชา)]]
ปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลต่อ[[วัฒนธรรมกัมพูชา]] ได้แก่ พุทธศาสนา[[เถรวาท|นิกายเถรวาท]] [[ศาสนาฮินดู]] ลัทธิล่าอาณานิคมของฝรั่งเศส วัฒนธรรมอังกอร์ และโลกาภิวัตน์สมัยใหม่ กระทรวงวัฒนธรรมและวิจิตรศิลป์กัมพูชามีหน้าที่ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมกัมพูชา วัฒนธรรมกัมพูชาไม่เพียงแต่รวมวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยในที่ราบลุ่มเท่านั้น แต่ยังรวมถึงชาวเขากว่า 20 เผ่าที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่เรียกขานว่า''แขมรเลอ'' (Khmer Loeu) ซึ่งเป็นคำที่[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ|สมเด็จนโรดม สีหนุ]] บัญญัติขึ้นเพื่อส่งเสริมความสามัคคีระหว่างชาวเขาและชาวลุ่มน้ำ ชาวกัมพูชาในชนบทสวมผ้าพันคอแบบกรอมซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของเสื้อผ้ากัมพูชา
 
บรรทัดที่ 664 ⟶ 673:
{{multiple image
| perrow = 2
| total_width = 300260
| image1 = Currysaraman.jpg
| image2 = Prahokktis.jpg
| image3 = Somlorkoko.jpg
| image4 = Num Banh ChokBanchok.jpg
| image5 = 2016 Phnom Penh, Amok trey (01).jpg
| footer = ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน: [[แกงกะหรี่]] (''สัมลอร์การี''), [[ปลาร้า]]เขมร (''ปร็อฮก''), [[ขนมจีน]]เขมร ''[[นมปันเจ๊าะ]]'' และ ''[[สัมลอร์มะจู]]''
| footer = อาหารกัมพูชาที่มีชื่อเสียง ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน ลงล่าง: ''สัมลอร์การี'' ([[แกงกะหรี่]]เขมร), ''[[ปรอฮก]]'' ([[ปลาร้า]]เขมร), ''[[นมบัญเจาะ]]'' ([[ขนมจีน]]เขมร), ''[[สัมลอร์มะจู]]'' (''[[แกงส้ม]]เขมร'') และ''[[อาม็อกเตร็ย]]'' (''[[ห่อหมก]]เขมร'')
| align =
| direction =
บรรทัดที่ 677 ⟶ 687:
}}
[[ข้าว]]เป็นอาหารหลักเช่นเดียวกับในประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปลาจาก[[แม่น้ำโขง]]และ[[โตนเลสาบ]]ก็เป็นส่วนสำคัญของอาหารเช่นกัน อุปทานของปลาและผลิตภัณฑ์จากปลาสำหรับอาหารและการค้า ณ ปี 2000 คือ 20 กิโลกรัม (44 ปอนด์) ต่อคนหรือ 2 ออนซ์ต่อวันต่อคน<ref>{{Cite web |date=2004-07-20 |title=Coastal and Marine Ecosystems -- Cambodia |url=http://www.earthtrends.wri.org/pdf_library/country_profiles/Coa_cou_116.pdf |archive-date=2004-07-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20040720042809/http://www.earthtrends.wri.org/pdf_library/country_profiles/Coa_cou_116.pdf |website=EarthTrends |df=dmy-all}}</ref> ปลาบางชนิดสามารถถนอมอาหารเพื่อเก็บไว้ได้นานขึ้น อาหารของกัมพูชาประกอบด้วย[[ผลไม้]]เมืองร้อน [[ซุป]] และ[[ก๋วยเตี๋ยว]] ส่วนผสมหลักคือ มะกรูด ตะไคร้ กระเทียม น้ำปลา ซีอิ๊ว มะขาม ขิง ซอสหอยนางรม กะทิ และพริกไทยดำ อาหารบางอย่าง ได้แก่ น้ำบาลโชค (នំបញ្ចុក), ปลาอามก (អាម៉ុកត្រី) และ aping (អាពីង) ได้รับความนิยม กัมพูชายังขึ้นชื่อในด้านการมีอาหารข้างทางที่หลากหลายซึ่งได้รับความนิยมสูง<ref>{{Cite web|last=Chan|first=Wing Yan|date=2015-07-21|title=10 Delicious Street Food Dishes You Must Try in Cambodia|url=https://theculturetrip.com/asia/cambodia/articles/the-top-10-must-try-street-food-dishes-in-phnom-penh/|website=Culture Trip}}</ref> อิทธิพลของชาวฝรั่งเศสที่มีต่ออาหารกัมพูชา ได้แก่ แกงเผ็ดกัมพูชากับขนมปังบาแกตต์ปิ้ง ขนมปังบาแกตต์ที่ปิ้งแล้วจุ่มลงในแกงและรับประทาน แกงเผ็ดกัมพูชายังนิยมทานกับข้าวและวุ้นเส้น อาหารที่ได้รับความนิยมมากที่สุด กุ้ยเตียว ก็คือ ก๋วยเตี๋ยวต้มยำหมูใส่กระเทียมเจียว หอมใหญ่ หัวหอมใหญ่ ที่อาจมีท็อปปิ้งต่าง ๆ เช่น ลูกชิ้น กุ้ง ตับหมู หรือผักกาดหอม พริกไทยกำปอตขึ้นชื่อว่าดีที่สุดในโลกและมักทานพร้อมกับปูและปลาหมึกในร้านอาหารริมแม่น้ำ
 
ส่วนอาหารกัมพูชาที่มีชื่อเสียงได้แก่ ''[[สัมลอร์การี]]'' (សម្លការី) [[แกงกะหรี่]], ''[[ปรอฮก]]'' (ប្រហុក) [[ปลาร้า]]เขมร, ''[[นมบัญเจาะ]]'' (នំបញ្ចុក) [[ขนมจีน]]เขมร, ''[[สัมลอร์มะจู]]'' (សម្លម្ជូរ) [[แกงส้ม]]เขมร และ''[[อาม็อกเตร็ย]]'' (អាម៉ុកត្រី) [[ห่อหมก]]เขมร
 
ชาวกัมพูชาดื่มชาในปริมาณมาก<ref>{{Cite web|last=Smits|first=Johann|title=Khmer brew: exploring the parviflora tea strain|url=https://www.phnompenhpost.com/lifestyle/khmer-brew-exploring-parviflora-tea-strain|website=www.phnompenhpost.com|language=en}}</ref> ซึ่งปลูกใน[[จังหวัดมณฑลคีรี]]และรอบ ๆ ''te krolap'' เป็นชาที่เข้มข้น ทำจากการใส่น้ำและใบชาจำนวนมากลงในแก้วขนาดเล็ก วางจานรองไว้ด้านบน แล้วพลิกสิ่งทั้งหมดกลับหัวเพื่อชง ก่อนจะจะถูกเทลงในถ้วยอีกใบและเติมน้ำตาลในปริมาณมาก แต่ไม่ใส่นม ชามะนาว ''te kdau kroch chhma'' ทำจากชาจีนฝุ่นแดงและน้ำมะนาว ให้ความสดชื่นทั้งร้อนและเย็น และโดยทั่วไปจะเสิร์ฟพร้อมกับน้ำตาลในปริมาณมาก ในส่วนของกาแฟ เมล็ดกาแฟมักจะนำเข้าจากประเทศลาวและเวียดนาม แม้ว่ากาแฟที่ผลิตในประเทศจาก[[จังหวัดรัตนคีรี]]และจังหวัดมณฑุลคีรีจะสามารถพบได้ในบางพื้นที่ กาแฟกัมพูชามักคั่วด้วยเนยและน้ำตาล รวมทั้งส่วนผสมอื่น ๆ ตั้งแต่เหล้ารัมไปจนถึงไขมันหมู ทำให้เครื่องดื่มมีกลิ่นแปลก ๆ แต่เป็นเอกลักษณ์ กัมพูชามีโรงเบียร์อุตสาหกรรมหลายแห่ง ส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในจังหวัด[[พระสีหนุ (เมือง)|พระสีหนุ]]และ[[พนมเปญ]]<ref>{{Cite web|last=AsiaLIFE|title=Craft Beer in Cambodia|url=https://www.asialifemagazine.com/cambodia/craft-beer-cambodia/|website=AsiaLIFE Cambodia|language=en-US|access-date=2021-10-08|archive-date=2017-08-11|archive-url=https://web.archive.org/web/20170811011706/https://www.asialifemagazine.com/cambodia/craft-beer-cambodia/|url-status=dead}}</ref> นอกจากนี้ยังมีโรงเบียร์ขนาดเล็กจำนวนมากในพนมเปญและเสียมราฐ ระหว่างปี 2014 ถึงปี 2018 จำนวนโรงเบียร์คราฟต์เพิ่มขึ้นจากสองเป็นเก้าแห่ง ณ ปี 2019 มีโรงเบียร์หรือโรงเบียร์ขนาดเล็ก 12 แห่งในกัมพูชา ไวน์ข้าวเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ยอดนิยม และมักจะผสมกับผลไม้หรือสมุนไพร<ref>{{Cite web|date=2019-05-12|title=Brewing up nicely: Cambodia’s rapidly growing taste for craft beer {{!}} ASEAN Today|url=https://www.aseantoday.com/2019/05/brewing-up-nicely-cambodias-rapidly-growing-taste-for-craft-beer/|website=www.aseantoday.com|language=en-US}}</ref>
บรรทัดที่ 685 ⟶ 697:
=== ศิลปะการแสดง ===
{{บทความหลัก|นาฏศิลป์ในประเทศกัมพูชา}}
{{multiple image|caption_align=center|header_align=center
| align perrow = right2
| total_width = 300
| direction = vertical
| image1 = Angkor Wat - 050 Apsaras (8580603733).jpg
| width = 200
| image2 = Danseuses kmer (2).JPG|
| image1 = Angkor Wat - 050 Apsaras (8580603733).jpg
| image3 = Lakhon Khol Art painting.jpg
| caption1 = ภาพสลักนาง[[อัปสร]]ที่[[นครวัด]]
| image4 = Cambodian dance Reamker.png
| image2 = Danseuses kmer (2).JPG|
| image5 =
| caption2 = การแสดงนาฏศิลป์ระบำเทพอัปสรา
| footer = การแสดงกัมพูชา ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง: ภาพสลักนาง[[อัปสร]]ที่[[นครวัด]], การแสดงนาฏศิลป์ระบำเทพอัปสรา, ศิลปะ'''[[เรียมเกร์]]''' ([[รามเกียรติ์]]ฉบับกัมพูชา), '''[[ละโคนโขล]]''' (โขนเขมร) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] รัชกาลที่ 109 แห่งกัมพูชา
| align =
| direction = vertical
| alt1 =
| caption1 =
| caption2 =
}}
(โขนเขมร) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม บรมรามเทวาวตาร]] รัชกาลที่ 109 แห่งกัมพูชา]]
การเต้นรำของกัมพูชาสามารถแบ่งออกเป็นสามประเภทหลัก: นาฏศิลป์ท้องถิ่น นาฏศิลป์พื้นบ้าน และนาฏศิลป์ทั่วไป ต้นกำเนิดที่แท้จริงของนาฏศิลป์กัมพูชาเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ นักวิชาการพื้นเมืองส่วนใหญ่สันนิษฐานว่าการเต้นรำสมัยใหม่ย้อนไปในสมัยของพระนคร<ref>Cravath, Paul (1986). "The Ritual Origins of the Classical Dance Drama of Cambodia". ''Asian Theatre Journal''. '''3''' (2): 179–203. {{ISSN|0742-5457}}.</ref> โดยเห็นความคล้ายคลึงกันในการแกะสลักของวัดในสมัยนั้น ขณะที่คนอื่น ๆ เชื่อว่ารูปแบบการรำสมัยใหม่ได้เรียนรู้ (หรือเรียนรู้ใหม่) จากนักเต้นในราชสำนักสยามใน ค.ศ. 1800 นาฏศิลป์เขมรเป็นรูปแบบของศิลปะการแสดงที่มีสไตล์ซึ่งจัดตั้งขึ้นในราชสำนักของกัมพูชาซึ่งจัดแสดงเพื่อความบันเทิงและเพื่อวัตถุประสงค์ในพิธีการ การเต้นรำเป็นกิจกรรมโดยชายและหญิงที่แต่งกายอย่างประณีตและได้รับการฝึกฝนมาอย่างดีในโอกาสสาธารณะ หรือเพื่อสร้างเรื่องราวดั้งเดิมและบทกวีมหากาพย์ เช่น '''[[ละโคนโขล]]''' ที่มักนำบทในวรรณคดีอย่าง '''[[เรียมเกร์]]''' เวอร์ชันเขมรของ[[รามเกียรติ์]]มาละเล่น โดยมักรู้จักกันอย่างเป็นทางการในชื่อ ''ระบำพระราชทรัพย์'' (របាំព្រះរាជទ្រព្ "โรงละครแห่งความมั่งคั่งของราชวงศ์") ถูกกำหนดให้เป็นเพลงของวงดนตรีพร้อมด้วยนักร้องนำ นอกจากนี้นาฏศิลป์ในราชสำนักกัมพูชายังมีการแสดงอย่าง'''[[ระบำเทพอัปสรา]]''' ที่นักแสดงมักจะแต่งกายอย่างนาง[[อัปสร]]ในยุค[[จักรวรรดิเขมร]]โบราณ
 
บรรทัดที่ 701 ⟶ 718:
=== ดนตรี ===
[[ไฟล์:VannDa.jpg|right|160px|thumb|'''[[วัณณ์ดา (นักร้อง)|วัณณ์ดา]]''' (VannDa) ศิลปินฮิปฮอปและแร็ปเปอร์กัมพูชา]]
[[ไฟล์:Princess Norodom Jenna.jpg|right|120px|thumb|'''[[นโรดม เจนณา]]''' นักร้องและนักแสดงกัมพูชา]]
ดนตรีกัมพูชาดั้งเดิมมีมาตั้งแต่สมัย[[จักรวรรดิเขมร|อาณาจักรเขมร]]<ref>{{Cite web |url=https://www.umbc.edu/eol/cambodia/histcmus.htm |title=Cambodian music history |publisher=University of Maryland, Baltimore County}}</ref> ระบำของราชวงศ์ เช่น ระบำอัปสราเป็นสัญลักษณ์ของวัฒนธรรมกัมพูชา เช่นเดียวกับระบำ ''Mahori'' รูปแบบดนตรีในชนบท ได้แก่ ''Chapei'' และ ''Ayai'' เป็นที่นิยมในหมู่คนรุ่นเก่าและส่วนใหญ่มักจะเป็นการแสดงเดี่ยวของนักดนตรีชายด้วยกีตาร์กัมพูชา (chapei) เนื้อเพลงมักมีเนื้อหาเกี่ยวกับศีลธรรมหรือศาสนา<ref>{{Cite web |url=http://worldmusic.nationalgeographic.com/view/page.basic/country/content.country/cambodia_527 |title=Cambodia |website=Nat Geo Music |archive-url=https://web.archive.org/web/20120818104047/http://worldmusic.nationalgeographic.com/view/page.basic/country/content.country/cambodia_527 |archive-date=2012-08-18 |df=dmy-all |url-status=dead}}</ref>
 
ดนตรียอดนิยมของกัมพูชาแสดงด้วยเครื่องดนตรีสไตล์ตะวันตกหรือผสมผสานระหว่างเครื่องดนตรีดั้งเดิมและดนตรีตะวันตก เพลงแดนซ์แต่งขึ้นในสไตล์เฉพาะสำหรับการเต้นรำทางสังคม เพลงของนักร้องประสานเสียง [[สิน ศรีสมุทร]], รส เสรีสุทธา และ [[แปน รอน]] ในทศวรรษที่ 1960 ถึง 1970 ถือเป็นเพลงป๊อปคลาสสิกของกัมพูชา ในยุคเขมรแดง นักร้องคลาสสิกและเป็นที่นิยมมากมายในช่วงทศวรรษ 1960 และ 1970 ถูกสังหาร อดอยากจนเสียชีวิต หรือถูกบังคับใช้งานหนักจนตาย และมาสเตอร์เทปดั้งเดิมจำนวนมากจากยุคนั้นสูญหายหรือถูกทำลาย ในช่วงทศวรรษ 1980 แก้ว สุทัต (ผู้ลี้ภัยที่อพยพไปตั้งรกรากใน[[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]) และคนอื่น ๆ ได้สืบทอดมรดกของนักร้องคลาสสิก ซึ่งได้ทำเพลงยอดนิยมสมัยใหม่
 
ส่วนด้านดนตรีสมัยใหม่ผสมผสานกับดนตรีพื้นบ้านเขมรโบราณที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน คือ '''[[วัณณ์ดา (นักร้อง)|วัณณ์ดา]]''' (VannDa) เป็นศิลปินแร็ปและฮิปฮอปที่ผสมผสานกับดนตรีพื้นบ้านเขมรโบราณ ผลงานเขาซึ่งเป็นที่รู้จักจากเพลง '''Time To Rise''' และ '''Queen Bee''' ในปี ค.ศ. 2021 , '''[[นโรดม เจนณา]]''' นักแสดงและนักร้องกัมพูชารุ่นเยาว์, วง '''KMENG Khmer''' ที่ออกผลงานเพลงเศรษฐี (សេដ្ឋី) และ โขกเจิง (ខកជើង) ในปี ค.ศ. 2023 และ '''Pou Khlaing KHMER''' ในเพลง (NekaNe 2023) នឹកនា 2023 ทั้งนี้ยังมี '''[[ตอน จันสีมา]]''' (Ton Chanseyma) ศิลปินฮิปฮอปและป็อปกัมพูชาที่มีผลงานเพลง '''Cambodian Pride'''
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|30em}}