ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาคาไรม์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Waniosa Amedestir (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
 
(ไม่แสดง 9 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 1:
{{Infobox Languagelanguage
| name = ภาษาคาไรม์
| nativename = {{lang|kdr-Cyrl|къарай тили, }}<br/>{{lang|kdr-Latn|karaj tili, Karay dili}}
| states = [[ไครเมีย]], [[ลิทัวเนีย]], [[โปแลนด์]]
|ethnicity = [[ชาวคาไรต์ไครเมีย]] (2014)<ref name=e17>{{e18|kdr}}</ref>
| speakers = น้อยกว่า 50 คนในลิธัวเนีย<ref>http://www.unesco.org/culture/ich/index.php?pg=00140</ref>
|speakers = {{sigfig|81|1}}
| familycolor = Altaic
|date = 2014
| fam2 = [[ภาษากลุ่มเตอร์กิก]]
|ref = e18
| fam3 = [[ภาษากลุ่มเคียบชัก]]
| familycolor = Altaic
| fam4 = ภาษากลุ่มคิบชาก-คูมัน
| fam21 = [[ภาษากลุ่มภาษาเตอร์กิก|เตอร์กิก]]
| iso2 = tut
|fam2 = [[กลุ่มภาษาเตอร์กิกทั่วไป|เตอร์กิกทั่วไป]]
| iso3 = kdr
|fam3 = [[กลุ่มภาษาคิปชาก|คิปชาก]]
|fam4 = คิปชาก–คูมัน
|script = [[อักษรซีริลลิก|ซีริลลิก]], [[อักษรละติน|ละติน]], [[ชุดตัวอักษรฮีบรู|ฮีบรู]]
|minority = {{POL}}<br/>{{UKR}}<br/>{{RUS}}<ref>{{cite web|url=http://zakon4.rada.gov.ua/laws/show/5029-17 |title=Law of Ukraine "On Principles of State Language Policy") |publisher=[[Verkhovna Rada]] |work=Document 5029-17, Article 7: Regional or minority languages Ukraine, Paragraph 2 |date=1 February 2014 | access-date=30 April 2014}}</ref><ref>{{cite web|title=To which languages does the Charter apply? |page=3 |url=http://hub.coe.int/c/document_library/get_file?uuid=d74fc9bd-0c0c-40ac-9e47-26d4887daf8e&groupId=10227 |work=European Charter for Regional or Minority Languages |publisher=Council of Europe |access-date=2014-04-03 |archive-url=https://web.archive.org/web/20131227174247/http://hub.coe.int/c/document_library/get_file?uuid=d74fc9bd-0c0c-40ac-9e47-26d4887daf8e&groupId=10227 |archive-date=2013-12-27 |url-status=dead}}</ref>
| iso3 = kdr
|glotto = kara1464
|glottorefname= Karaim
}}
'''ภาษาคาไรม์''' (Karaimสำเนียงไครเมีย: language{{lang|kdr|къарай тили}}, สำเนียงตราไก: {{lang|kdr|karaj tili}}, ชื่อภาษาฮีบรูดั้งเดิม {{lang|he-Latn|lashon kedar}}, {{Script/Hebrew|לשון קדר}}, {{lit|"ภาษาของชนร่อนเร่"}})<ref>[http://video-en.jewseurasia.org/page34/news24063.html Tatiana Schegoleva. Karaites of Crimea: History and Present-Day Situation in Community.]</ref> เป็น[[ภาษากลุ่มเตอร์กิก]]ที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาฮีบรู]]ในทำนองเดียวกับ[[ภาษายิดดิช]]หรือ[[ภาษาลาดิโน]] พูดโดยชาวคาไรต์ใน[[ไครเมีย]]ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือ[[ศาสนายูดาย]]ในไครเมีย [[ลิธัวเนียลิทัวเนีย]] [[โปแลนด์]]และ[[ยูเครน]]ตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียลิทัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมือง[[ตราไก]] ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราวดยุกเวียเตาตัสแห่งลิทัวเนียเมื่อราว พ.ศ. 1944 - 1944–1945 ซึ่งเป็นโอกาสให้ภาษานี้เหลือรอดอยู่ในตราไก ซึ่งเป็นผลมาจากการสนับสนุนของทางราชการ ในปัจจุบันมีพิพิธภัณฑ์ในตราไกแสดงเกี่ยวกับชุมชนคาไรต์และร้านอาหารคาไรต์
 
'''ภาษาคาไรม์''' (Karaim language) เป็น[[ภาษากลุ่มเตอร์กิก]]ที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาฮีบรู]]ในทำนองเดียวกับ[[ภาษายิดดิช]]หรือ[[ภาษาลาดิโน]] พูดโดยชาวคาไรต์ใน[[ไครเมีย]]ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ที่นับถือ[[ศาสนายูดาย]]ในไครเมีย [[ลิธัวเนีย]] [[โปแลนด์]]และ[[ยูเครน]]ตะวันตกเหลือผู้พูดอยู่เพียง 6 คน ภาษาคาไรม์สำเนียงลิธัวเนียเคยใช้พูดในกลุ่มชุมชนขนาดเล็กบริเวณเมือง[[ตราไก]] ชาวคาไรต์เหล่านี้ถูกซื้อมาโดยแกรนด์ดุ๊กเวียเตาตัสแห่งลิธัวเนียเมื่อราว พ.ศ. 1944 - 1945 ซึ่งเป็นโอกาสให้ภาษานี้เหลือรอดอยู่ในตราไก ซึ่งเป็นผลมาจากการสนับสนุนของทางราชการ ในปัจจุบันมีพิพิธภัณฑ์ในตราไกแสดงเกี่ยวกับชุมชนคาไรต์และร้านอาหารคาไรต์
 
== ประวัติ ==
เส้น 18 ⟶ 24:
[[ศาสนายูดาย]]ของ[[ชาวคาไรต์]]ต่างจากศาสนายูดายของ[[ชาวยิว]] เพราะไม่ได้ใช้คัมภีร์[[มิซนะห์]]และ[[ทัลมุด]] คำว่าคาไรม์มาจากศัพท์[[ภาษาฮีบรู]] קרא แปลว่าอ่าน ส่วนคำว่าคาไรต์มาจากภาษากลุ่มเตอร์กิก หมายถึงกลับ
 
ก่อนที่[[ศาสนาอิสลาม]]จะแพร่หลายเข้ามา ชุมชนชาวยิวอยู่แยกจากกันเนื่องจากการเมือง สภาพภูมิศาสตร์และวัฒนธรรม แต่เมื่อศาสนาอิสลามแพร่เข้ามา ชาวยิวส่วนใหญ่รวมเป็นกลุ่มก้อนภายใต้การปกครองชองชาว[[มุสลิม]] ชุมชนชาวยิวเหล่านี้เป็นชุมชนที่แข็งแกร่ง พยายามตั้งกฎของตนเอง กฎของมุสลิมไม่ได้มีผลต่อกิจกรรมทางศาสนาแต่มีผลต่อสังคม ทำให้เปลี่ยนมาใช้ภาษาอาหรับและรับวัฒนธรรมอิสลามทางด้านอาหาร การแต่งกายและการติดต่อทางสังคม ภายในสังคมของชาวยิวเอง แรบไบต่างๆบไบต่าง ๆ พยายามโน้มน้าวให้ชาวยิวยอมรับทัลมุดเป็นกฎของสังคม ในขณะที่ชาวยิวบางส่วนไม่ยอมรับ จึงเกิดความหลากหลายภายในศาสนายูดายขึ้น ศาสนายูดายของชาวคาไรต์เริ่มต้นในเมโสโปเตเมียเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 13 -13–14
 
=== ชาวคาไรต์ในไครเมียและลิธัวเนียลิทัวเนีย ===
จุดกำเนิดของชาวคาไรต์ที่มาอยู่ในไครเมียยังไม่แน่นอน เพราะขาดหลักฐานที่แน่ชัด เอกสารส่วนใหญ่ระบุถึงความสัมพันธ์ระหว่างชาวคาไรต์กับชุมชนอื่นระหว่างพุทธศตวรรษที่ 22-22–24 เอกสารส่วนใหญ่ระบุถึงชุมชนชาวคาไรต์ที่ถูกเผาเมื่อพ.ศ. 2279 ระหว่างที่[[รัสเซีย]]รุกราน[[รัฐข่านตาตาร์]]<ref>Akhiezer 2003</ref> นักวิชาการบางส่วนเสนอว่าชาวคาไรต์เป็นลูกหลานของพ่อค้าที่เข้ามาในไครเมียตั้งแต่สมัย[[จักรวรรดิไบแซนไทน์]]<ref>Schur 1995</ref>และได้พัฒนาภาษาของตนที่เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิกในช่วงที่อยู่ในไครเมียนี้เองมีเอกสารเกี่ยวกับการอพยพของชาวคาไรต์จาก[[อิสตันบูล]]ไปยังไครเมียซึ่งบันทึกโดยชาวยิวในอิสตันบูลเมื่อ พ.ศ. 1746<ref>Tsoffar 2006</ref> การก่อตั้งชุมชนพ่อค้าในไครเมียน่าจะเริ่มต้นขึ้นระหว่างพุทธศตวรรษที่ 18-18–19 โดยกลุ่มพ่อค้าที่ติดต่อระหว่างไครเมีย เอเชียกลางและ[[จีน]]<ref>Schur 1995</ref>
 
ในอีกทางหนึ่งมีทฤษฎีว่าชาวคาไรต์ในไครเมียเป็นลูกหลานของเผ่าคาซาร์ที่เปลี่ยนมาใช้ภาษาคาไรม์ สมมติฐานที่สามกล่าวว่า ชาวคาไรต์เป็นลูกหลานของเผ่าอิสราเอลจากยุคแรกของการอพยพหลบหนีกษัตริย์อัสซีเรีย โดยเป็นเผ่าที่อพยพไปสู่[[เทือกเขาคอเคซัส]]เหนือแล้วจึงเข้าสู่คาบสมุทรไครเมีย
 
จุดกำเนิดของชาวคาไรต์ในลิธัวเนียไรต์ในลิทัวเนียมีความชัดเจนกว่า โดยกลุ่มชนนี้มาจากไครเมีย ใน พ.ศ. 1935 แกรนด์ดุ๊กเวียตาตุสดยุกเวียตาตุสแห่งลิทัวเนียปราบชาวตาตาร์ไครเมียได้ และอพยพชาวคาไรต์ในไครเมีย 330 ครอบครัวไปสู่ลิทัวเนีย ชาวคาไรต์ในลิทัวเนียแยกกันอยู่อย่างเป็นอิสระ และรักษาลักษณะเฉพาะของตนไว้ได้ โดยยังคงใช้ภาษากลุ่มเตอร์กิก แทนที่จะใช้ภาษาท้องถิ่นอื่นๆอื่น ๆ ในบริเวณนั้น
 
== การจัดจำแนก ==
ภาษาคาไรม์เป็นสมาชิกของตระกูลภาษาอัลไตอิกซึ่งเป็นภาษาที่แพร่หลายในหมู่ชาวนอร์มานในยูเรเชีย ภายในตระกูลภาษานี้ ภาษาคาไรม์จัดอยู่ในภาษษกลุ่มเคียปชาก ซึ่งเป็นสาขาตะวันตกของภาษากลุ่มเตอร์กิก ภายในกลุ่มตะวันตก ภาษาคาไรม์เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มปอนโต-บัลการ์ในรัสเซียและ[[ภาษาคาลมึกซ์]]ในรัสเซีย ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างภาษาคาไรม์กับ[[ภาษาเคียปชาก]]และ[[ภาษาตาตาร์ไครเมีย]] จึงมีทฤษฎีหนึ่งอธิบายว่าชาวคาซาร์เปลี่ยนไปเป็นชาวคาไรต์ที่นับถือศาสนายูดายในพุทธศตวรรษที่ 13-13–14
 
ลักษณะทั่วไปของภาษาในตระกูลอัลไตอิกคือเรียงประโยคแบบประธาน-กรรม-กริยา รูปคำติดต่อ และมีการเปลี่ยนเสียงสระ ภาษาคาไรต์มีลักษณะรูปคำติดต่อและมีการเปลี่ยนเสียงสระ จึงเป็นไปได้ที่จัดให้ภาษาคาไรม์อยู่ในกลุ่มนี้
 
ภาษาคาไรม์ในลิธัวเนียไรม์ในลิทัวเนียยังคงรักษาลักษณะที่มาจากกลุ่มภาษาเตอร์กิกไว้ได้ แม้จะมาอยู่ในบริเวณที่แวดล้อมด้วยภาษาลิธัวเนียลิทัวเนีย ภาษารัสเซียและภาษาโปแลนด์มากกว่า 600 ปี คำศัพท์ทางศาสนาในภาษาคาไรม์เป็นภาษาอาหรับ แสดงว่าจุดเริ่มต้นของวัฒนธรรมอยู่ในตะวันออกกลาง<ref>Zajaczkowski 1961</ref> คำศัพท์ทางศาสนาอีกส่วนหนึ่งเป็นภาษาฮีบรู ภาษาที่มีอิทธิพลต่อรากศัพท์ภาษาคาไรม์ได้แก่ภาษาอาหรับ ภาษาฮีบรู และ[[ภาษาเปอร์เซีย]]ในระยะแรก และระยะต่อมาได้แก่ ภาษารัสเซีย ภาษายูเครน ภาษาโปแลนด์ สำหรับชาวยิวคาไรม์ที่อยู่ในรัสเซีย ยูเครน โปแลนด์และลิธัวเนียลิทัวเนีย
 
== การแพร่กระจาย ==
ในปัจจุบันมีผู็ผูพูดภาษาคาไรม์อยู่ในไครเมีย ลิธัวเนียลิทัวเนีย โปแลนด์ อิสราเอล และสหรัฐ แม้ว่าจะมีชาวคาไรม์ 200 คนในลิธัวเนียลิทัวเนียแต่มีเพียง 1 ใน 4 ที่พูดภาษาคาไรม์
 
ภาษาคาไรม์แบ่งย่อยได้เป็น 3 สำเนียงคือ
เส้น 43 ⟶ 49:
 
== ความสัมพันธ์กับภาษาอื่น ==
ภาษาคาไรม์มีความเกี่ยวข้องกับภาษาอื่นๆอื่น ๆ มากมาย รากฐานที่มีต้นกำเนิดในเมโสโปเตเมียทำให้มีความเกี่ยวข้องกับภาษาอาหรับ ภาษาคาไรม์ใช้พูดในไครเมียในช่วงจักรวรรดิออตโตมันจึงมีความเกี่ยวข้องกับ[[ภาษาตุรกี]] และการที่ผู้พูดภาษาคาไรม์มักอยู่เป็นกลุ่มเล็กๆเล็ก ๆ กระจัดกระจายไปจึงมีความเกี่ยวข้องกับภาษาที่อยูู่รอบๆอยู่รอบ ๆ เช่น ภาษาลิธัวเนียลิทัวเนีย ภาษาโปแลนด์ ภาษายูเครนและภาษารัสเซีย จึงมีการลอกเลียนรากศัพท์และไวยากรณ์ของภาษาข้างเคียงมาใช้ในภาษาของตน ผู้พูดภาษาคาไรม์มักพูดได้หลายภาษาโดยจะพูดภาษาหลักในบริเวณนั้นๆนั้น ๆ ได้ด้วย บางส่วนที่มีความรู้ทางศาสนาจะรู้ภาษาฮ๊บรู
 
== สถานะของภาษา ==
สำเนียงส่วนใหญ่ของภาษาคาไรม์เป็นภาษาที่ตายแล้ว การเหลืออยู่ของภาษาคาไรม์ในลิธัวเนียไรม์ในลิทัวเนีย ปัจจุบันอยู่ในภาวะเสี่ยงเพราะการแพร่กระจายของชาวคาไรม์ในยุคโซเวียตหลังสงครามโลกครั้งที่สอง มีคนสูงอายุที่ยังพูดภาษาคาไรม์อยู่ คนรุ่นใหม่ หันไปพูดภาษาลิธัวเนียลิทัวเนีย ภาษารัสเซีย หรือภาษาโปแลนด์แทน
 
== ไวยากรณ์ ==
ภาษาคาไรม์เป็นภาษาที่ใช้ปัจจัยและมีลักษณะรูปคำติดต่อมาก ไม่มีคำอุปสรรคและใช้ปรบท คำนามผันได้ 7 การก แต่เดิมภาษาคาไรม์เรียงประโรคประโยคแบบกลุ่มภาษาเตอร์กิกคือประธาน-กรรม-กริยา แต่ได้ปรับเปลี่ยนเพราะต้องสื่อสารกับผู้พูดภาษาอื่นๆอื่น ๆ ปัจจุบันเป็นแบบ ประธาน-กริยา-กรรม<ref>Csató 2001</ref>
 
ในไครเมียและยูเครน ภาษาคาไรม์เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ในลิธัวเนียลิทัวเนียและโปแลนด์ เขียนด้วยอักษรละติน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22-22–24 เขียนด้วยอักษรฮีบรู
 
ในไครเมียและยูเครน ภาษาคาไรม์เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ในลิธัวเนียและโปแลนด์ เขียนด้วยอักษรละติน ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 22-24 เขียนด้วยอักษรฮีบรู
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
* Akhiezer, Golda. 2003. “The history of the Crimean Karaites during the sixteenth to eighteenth centuries.” pp. 729–757 in Polliack, Meira (ed.). Karaite Judaism: A Guide to its History and Literary Sources. Boston: Brill.
== บรรณานุกรม ==
* Astren, Fred. 2004. Karaite Judaism and Historical Understanding. Columbia, SC: University of South Carolina Press.
* Akhiezer, Golda. 2003. “The history of the Crimean Karaites during the sixteenth to eighteenth centuries.” pp. &nbsp;729–757 in Polliack, Meira (ed.). Karaite Judaism: A Guide to its History and Literary Sources. Boston: Brill.
* Astren, Fred. 2004. Karaite Judaism and Historical Understanding. Columbia, SC: University of South Carolina Press.
* Csató, Éva Ágnes, Nathan, D., & Firkavičiūtė, K. (2003). ''Spoken Karaim''. [London: School of Oriental and African Studies].
* ---. —— 2001. “Syntactic code-copying in Karaim.”
* [[Östen Dahl|Dahl, Östen]] and Maria Koptjevskaja-Tamm. 2001. Circum-Baltic Languages.
* Gil, Moshe. 2003. “The origins of the Karaites.” pp. &nbsp;73–118 in Polliack, Meira (ed.). Karaite Judaism: A Guide to its History and Literary Sources. Boston: Brill.
* Hansson, Gunnar Ólafur. 2007. “On the evolution of consonant harmony: the case of secondary articulation agreement.” Phonology. 24: 77-120.
* Khan, Geoffrey. 2000. The Early Karaite Tradition of Hebrew Grammatical Thought. Boston: Brill.
* International Institute of the Crimean Karaites (IICK). 2007. “Crimean Karaites.” <http://karaim-institute.narod.ru/index.htm>.
* Kocaoğlu, T., & Firkovičius, M. (2006). ''Karay: the Trakai dialect''. Languages of the world, 458. Muenchen: Lincom Europa. {{ISBN |3-89586-490-0}}
* Khan, Geoffrey. 2000. The Early Karaite Tradition of Hebrew Grammatical Thought. Boston: Brill.
* Paul Wexler, 1980. The Byelorussian Impact on Karaite and Yiddish
* Kocaoğlu, T., & Firkovičius, M. (2006). ''Karay: the Trakai dialect''. Languages of the world, 458. Muenchen: Lincom Europa. ISBN 3-89586-490-0
* NemethNémeth, MichalMichał. 2003. “Grammatical features.” Karaimi. <https://web.archive.org/web/20110716080739/http://www.karaimi.org/index_en.php?p=301>.
* [http://karaim-institute.narod.ru/activity/lgd-1.rtf The language of Western Ukrainian Karaites: Part one. A brief essay : comp. by V. A. Mireyev, N. D. Abrahamowicz - Simferopol, Ukraine – Polevskoy, Russia – Slippery Rock, USA: 2008 – 96 pp.]
* Nemoy, Leon. 1987. “Karaites.” In Mircea Eliade, ed., The Encyclopedia of Religion. New York: MacMillan.
* [http://karaim-institute.narod.ru/activity/lgd-2.rtf The language of Western Ukrainian Karaites: Part two. Karaite-Russian-Ukrainian-English dictionary :comp. by V. A. Mireyev, N. D. Abrahamowicz - Simferopol, Ukraine – Polevskoy, Russia – Slippery Rock, USA: 2008 – 184 pp.]
* Oesterley, W. O. E. and G. H. Box. 1920. A Short Survey of the Literature of Rabbinical and Mediaeval Judaism. Burt Franklin: New York.
* [http://karaim-institute.narod.ru/activity/lgd-3.txt The language of Western Ukrainian Karaites: Part three. Russian-Karaite Dictionary : comp. by V. A. Mireyev, N. D. Abrahamowicz - Simferopol, Ukraine – Polevskoy, Russia – Slippery Rock, USA: 2008 – 116 pp.]
* Schur, Nathan. 1995. “Karaites in Lithuania.” in The Karaite Encyclopedia. <https://web.archive.org/web/20071228105622/http://www.turkiye.net/sota/karalit.html>.
* Nemeth, Michal. 2003. “Grammatical features.” Karaimi. <http://www.karaimi.org/index_en.php?p=301>.
* Tsoffar, Ruth. 2006. Stains of Culture: an Ethno-Reading of Karaite Jewish Women. Detroit: Wayne State University Press.
* Nemoy, Leon. 1987. “Karaites.” In Mircea Eliade, ed., The Encyclopedia of Religion. New York: MacMillan.
* Tütüncü, Mehmet and Inci Bowman. 1998. “Karaim Homepage.” <https://web.archive.org/web/20071126131635/http://www.turkiye.net/sota/karaim.html>.
* Oesterley, W. O. E. and G. H. Box. 1920. A Short Survey of the Literature of Rabbinical and Mediaeval Judaism. Burt Franklin: New York.
* Zajaczkowski, Ananiasz. 1961. Karaims in Poland.
* Schur, Nathan. 1995. “Karaites in Lithuania.” in The Karaite Encyclopedia. <http://www.turkiye.net/sota/karalit.html>.
* SIL International. 2007. “Linguistic Lineage for Karaim.” Ethnologue.com. <http://www.ethnologue.com/show_lang_family.asp?code=kdrZ>.
* Tsoffar, Ruth. 2006. Stains of Culture: an Ethno-Reading of Karaite Jewish Women. Detroit: Wayne State University Press.
* Tütüncü, Mehmet and Inci Bowman. 1998. “Karaim Homepage.” <http://www.turkiye.net/sota/karaim.html>.
* Zajaczkowski, Ananiasz. 1961. Karaims in Poland.
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{อินคิวเบเตอร์Incubator|code= kdr/Baş Yan}}
*[http://karai.crimea.ua/karai/yazyk-karaimov Crimean Karaite Association's page about Karaim Language]
* [http://www.suduva.com/virdainas/atamyz.htm Karaim language Lord's Prayer]
*[http://kale.at.ua/publ/3 Karaim-Russian On-Line Dictionary]
{{ภาษาของชาวยิว}}
* [http://www.suduvadnathan.com/virdainaslanguage/karaim/atamyz.htm Spoken Karaim language Lord's Prayerproject]
*[http://www.torapotatarski.estranky.cz/ Translation of Torah into Tatar (Karaite) language]
 
{{ภาษาของชาวยิว}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในทวีปยุโรป|คาไรม์]]
{{Authority control}}
[[หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว|คาไรม์]]
{{เรียงลำดับ|คาไรม์}}
[[หมวดหมู่:ตระกูลภาษาเตอร์กิก]]
[[หมวดหมู่:ภาษาในทวีปยุโรป|คาไรม์]]
[[หมวดหมู่:ภาษาของชาวยิว|คาไรม์]]