ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศกัมพูชา"
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบภาพบางส่วนยัดเยอะเกินจนเบียดบทความ |
Dr.wikipat (คุย | ส่วนร่วม) →ประวัติศาสตร์: แก้ไขไวยากรณ์ ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปแอนดรอยด์ |
||
บรรทัด 146:
=== อาณาจักรเจนละ (อาณาจักรอิศานปุระ) ===
{{บทความหลัก|อาณาจักรอิศานปุระ}}
ในระหว่าง พ.ศ. 1170-1250 นั้นอาณาจักรเขมรโบราณมีกษัตริย์ครองราชย์คือ พระเจ้าภววรมันที่ 2 พระโอรสของพระเจ้าอีศานวรมันที่ 2 และพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 โอรสของพระเจ้าภววรมันที่ 2 ยุคนี้ได้สร้างศิลปเขมรแบบไพรกเมง ขึ้นระหว่างพ.ศ. 1180-1250 สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 1 นั้นอาณาจักรเจนฬา (เจนละ) นั้นได้แตกแยกเป็นพวกเจนละบกคืออยู่ลุ่มน้ำโขงตอนใต้ และพวกเจนละน้ำ อยู่ในดินแดนลาวตอนกลาง พ.ศ. 1250-1350 ยุคนี้ได้มีการสร้างศิลปเขมรแบบกำพงพระขึ้น
อาณาจักรเขมรโบราณนั้นล่มสลายมาจนถึงรัชสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 หรือพระเจ้าปรเมศวร พ.ศ. 1345-1393 พระองค์ได้รวบรวมพวกเจนละบกและพวกเจนละน้ำเป็นอาณาจักรใหม่โดยรับเอาลัทธไศเลนทร์หรือ เทวราชาเข้ามาทำการสถานปนาอาณาจักรใหม่ขึ้น โดยทำการสร้างราชธานีขึ้นใหม่หลายแห่งและสร้างปราสาทหินหรือเทวาลัยเป็นการใหญ่ ซึ่งมีเหตุการณ์ย้ายราชธานีขึ้นหลายครั้งจนกว่าจะลงตัวที่เมืองหริหราลัยราชธานีแห่งแรกของอาณาจักรเขมร ต่อมาคือ เมืองยโศธรปุระ และ เมืองนครธมในที่สุด ด้วยเหตุนี้อาณาจักรเขมรสมัยนี้จึงรุ่งเรืองด้วยการสร้างราชธานีขึ้นหลายแห่งและมีปราสาทหินที่เป็นศิลปะเขมรเกิดขึ้นหลายแบบ กล่าวคือ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 นั้นพระองค์ได้ทำการสร้างเมืองอินทรปุระเป็นราชธานี ขึ้นที่บริเวณใกล้เมืองกำแพงจาม สร้างเมืองหริหราลัยหรือร่อลวย เป็นราชธานี สร้างเมืองอมเรนทรปุระ เป็นราชธานี และสร้างเมืองมเหนทรบรรพต หรือ พนมกุเลนเป็นราชธานี ยุคนี้ได้สร้างศิลปเขมรแบบกุเลนขึ้นระหว่าง พ.ศ. 1370-1420
เมื่อสิ้นรัชกาลพระเจ้าชัยวรมันที่ 2 พระโอรสได้ครองราชย์ทรงพระนามว่าพระเจ้าชัยวรมันที่ 3 หรือ พระเจ้าวิษณุโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1393-1420 พระองค์ได้กลับมาใช้เมืองหริหราลัยหรือร่อลอย เป็นราชธานี ต่อมาจนถึงรัชกาลพระเจ้าอินทรวรมันที่ 1 หรือ พระเจ้าอิศวรโลก ครองราชย์ พ.ศ. 1420-1432 ยุคนี้ได้สร้างศิลปะเขมรแบบพระโคขึ้นในพ.ศ. 1420-1440
บรรทัด 184:
}}
[[ไฟล์:Map-of-southeast-asia 900 CE.png|thumb|200px|right|อาณาเขตของ[[จักรวรรดิเขมร]] (สีแดง)]]
'''จักรวรรดิขแมร์''' หรือ '''อาณาจักรเขมรโบราณ''' หรือบางแหล่งเรียกว่า '''อาณาจักรขอม''' เป็นหนึ่งในอาณาจักรโบราณ เริ่มต้นขึ้น ราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มจาก[[อาณาจักรฟูนัน]] มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณประเทศกัมพูชา โดยมีอาณาเขตครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของ [[ประเทศไทย]] [[ลาว]] และบางส่วนของ[[เวียดนาม]]ในปัจจุบัน นับเป็นอาณาจักรที่มีแสนยานุภาพมากที่สุดใน[[เอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] ต่อมาได้อ่อนกำลังลงจนเสียดินแดนบางส่วนให้กับ[[อาณาจักรสุโขทัย]]และแตกสลายในที่สุดเมื่อตกเป็นเมืองขึ้นของ[[อาณาจักรอยุธยา]]
อาณาจักรเขมรสืบทอดอำนาจจาก[[อาณาจักรเจนฬา]] มีสงครามผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะกับอาณาจักรข้างเคียง เช่น [[อาณาจักรล้านช้าง]] [[อาณาจักรอยุธยา]] และ[[อาณาจักรจามปา]] มรดกที่สำคัญที่สุดของอาณาจักรเขมรคือ [[นครวัด]] และ [[นครธม]] ซึ่งเคยเป็นนครหลวงเมื่อครั้งอาณาจักรแห่งนี้มีความเจริญรุ่งเรืองที่สุด และยังมีลัทธิความเชื่อต่าง ๆ อย่างหลากหลาย ศาสนาหลักของอาณาจักรนี้ได้แก่ [[ศาสนาฮินดู]] [[มหายาน|พุทธศาสนามหายาน]] และ[[เถรวาท|พุทธศาสนาเถรวาท]]ซึ่งได้รับจากศรีลังกา เมื่อ[[คริสต์ศตวรรษที่ 13]]
บรรทัด 241:
ในปี พ.ศ. 2536 [[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]]ได้รับอัญเชิญให้เสด็จกลับกัมพูชาและได้มีการฟื้นฟูในฐานะพระมหากษัตริย์ของกัมพูชา แต่อำนาจทั้งหมดอยู่ในมือของรัฐบาลที่จัดตั้งขึ้นหลังจากการเลือกตั้งที่ได้รับการสนับสนุนจาก UNTAC เสถียรภาพที่เกิดขึ้นหลังจากความขัดแย้งเกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2540 โดยการทำรัฐประหารซึ่งนำโดยนายกรัฐมนตรีฮุนเซนร่วมกับพรรคที่ไม่ใช่คอมมิวนิสต์ในรัฐบาล<ref name="97COUP">[https://web.archive.org/web/20070627054853/http://cambodia.ohchr.org/Documents/Statements%20and%20Speeches/English/40.pdf STATEMENT BY AMBASSADOR THOMAS HAMMARBERG, SPECIAL REPRESENTATIVE OF THE SECRETARY-GENERAL OF THE UNITED NATIONS FOR HUMAN RIGHTS IN CAMBODIA]. UN OHCHR Cambodia (9 July 1997)</ref> หลังจากที่รัฐบาลสามารถรักษาเสถียรภาพภายใต้การบริหารของสมเด็จ[[ฮุนเซน]]แล้วกัมพูชาก็ได้รับการยอมรับเข้าสู่[[สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้]] (อาเซียน) เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542<ref name="enlargement">{{cite book|title=ASEAN Enlargement: impacts and implications|author1=Carolyn L. Gates|author2=Mya Than|publisher=Institute of Southeast Asian Studies|year=2001|isbn=978-981-230-081-2}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.asean.org/3338.htm|title=Statement by the Secretary-General of ASEAN Welcoming the Kingdom of Cambodia as the Tenth Member State of ASEAN: 30 April 1999, ASEAN Secretariat|year=2008|work=ASEAN Secretariat|archiveurl=https://web.archive.org/web/20110511153639/http://www.asean.org/3338.htm|archivedate=11 May 2011|url-status=dead|accessdate=28 August 2009}}</ref> ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาความพยายามในการฟื้นฟูได้ก้าวหน้าและนำไปสู่ความมั่นคงทางการเมืองผ่านประชาธิปไตยระบบการเมืองหลายพรรคภายใต้[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]<ref name="CIACB"/> แม้ว่าการปกครองของฮุนเซนจะถูกกล่าวหาว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชนและการคอรัปชั่น,<ref name="Strangio">{{cite book|last=Strangio|first1=Sebastian|title=Hun Sen's Cambodia|date=2014|publisher=Yale University Press|isbn=978-0-300-19072-4}}</ref> พลเมืองกัมพูชาส่วนใหญ่ในช่วงปี 2000 ยังคงได้รับการอนุมัติจากรัฐบาล การสัมภาษณ์ชาวเขมรในชนบทในปี 2551 แสดงให้เห็นว่าสถานะที่มั่นคงต่อการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นอย่างรุนแรง<ref>{{cite book|last=Brinkley|first=John|title=Cambodia's Curse: The Modern History of a Troubled Land|date=2011|publisher=Hachette UK|pages=460–463|url=https://books.google.com.ph/books?id=C3bsidxFIuEC|accessdate=17 November 2019|quote=[Javier Merelo de Barbera] spoke to dozens of [villagers] during the 2008 election campaign, and he said he observed a constant theme: 'People were very afraid of the CCP losing. They were very afraid of change.' After all, for centuries change in Cambodia has generally led to misery or death.}}</ref>
== การเมืองการปกครอง ==
{{บทความหลัก|การเมืองกัมพูชา}}
|