พระมหากษัตริย์แคนาดา

พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา เป็นศูนย์กลางของโครงสร้างสหพันธ์ของประเทศแคนาดาตามรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาตามแบบเวสต์มินสเตอร์[6] สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นรากฐานแห่งฝ่ายบริหาร (สภาองคมนตรีแห่งพระมหากษัตริย์) ฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภาแห่งพระราชาธิบดิ) และฝ่ายตุลาการ (พระราชาธิบดิบนบัลลังก์) ของทั้งเขตอำนาจในสหพันธ์และในระดับรัฐ[10] พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา (และประมุขแห่งรัฐ) พระองค์ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022[11][12][17] พระอิสริยยศเต็มของพระมหากษัตริย์แคนาดา คือ "ด้วยพระคุณแห่งพระเจ้าแห่งสหราชอาณาจักร แคนาดา อาณาจักรและดินแดนของพระราชาธินดิ ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งประชาชาติ ผู้เป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก"

พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา
King of Canada (อังกฤษ)
Roi du Canada (ฝรั่งเศส)
สหพันธรัฐ
อยู่ในราชสมบัติ
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3
ตั้งแต่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022
รายละเอียด
พระราชอิสริยยศสมเด็จพระราชาธิบดี
รัชทายาทเจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์[1]
กษัตริย์องค์แรกสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5
(ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา)
สถาปนาเมื่อ11 ธันวาคม ค.ศ. 1931
ที่ประทับริโด ฮอลล์ ออตตาวา
ลา ซิตาแดล นครเกแบ็ก
เว็บไซต์Monarchy and the Crown

ถึงแม้ว่าผู้ดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์แห่งแคนาดานั้นใช้ร่วมกับอีก 15 ประเทศราชอาณาจักรภายในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ ในแต่ละประเทศนั้นสถาบันพระมหากษัตริย์ของแต่ละประเทศนั้นแยกออกจากกันตามกฎหมาย[18][19][20][21][22] ดังนั้น พระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันนั้นมีพระอิสสิรยยศเป็น "สมเด็จพระราชาธิบดิแห่งแคนาดา" และจึงทำให้พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ในพระราชวงศ์แคนาดามีบทบาทหน้าที่สาธารณะทั้งภายในประเทศและต่างประเทศในฐานะประมุขแห่งแคนาดา อย่างไรก็ตามมีเพียงสมเด็จพระราชาธิบดิเท่านั้นที่ทรงมีบทบาทตามบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ส่วนมากจะสงวนไว้แค่เรื่องพิธีการ (อาทิเช่น การเรียกประชุมสภาสามัญชน และการแต่งตั้งเอกอัครข้าราชทูต เป็นต้น) มีผู้สำเร็จราชการเป็นผู้ใช้พระราชอำนาจแทนพระองค์[26] ในรัฐต่างๆ ของแคนาดา ล้วนมีพระมหาษัตริย์เป็นของตนเช่นกันโดยมีผู้แทนพระองค์ คือ รองผู้สำเร็จราชการ (lieutenant governor) ส่วนในดินแดนต่างๆ ของแคนาดาซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของสหพันธ์มีตำแหน่งข้าหลวงแทน ซึ่งเป็นผู้แทนพระองค์โดยตรง

แคนาดาเป็นประเทศที่มีพระมหากษัตริย์สืบต่อมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในโลก[19][27] โดยก่อตั้งเมื่อศตวรรษที่ 16[28][29][30] โดยผ่านการสืบสันตติวงศ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ราชวงศ์ฝรั่งเศสและราชวงศ์บริเตนใหญ่[31][32][33][34][35][36] จนมาถึงราชวงศ์แคนาดาจวบจนปัจจุบัน[39]

อ้างอิง

แก้
  1. Department of Canadian Heritage. "Crown in Canada > Royal Family > His Royal Highness The Prince of Wales". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 ธันวาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2013.
  2. David E. Smith (June 2010). "The Crown and the Constitution: Sustaining Democracy?" (PDF). Conference on the Crown. Ottawa: Queen's University. p. 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-10-08. สืบค้นเมื่อ 3 March 2016.
  3. Smith, David E. (1995). The Invisible Crown. Toronto: University of Toronto Press. pp. 87–90. ISBN 0-8020-7793-5.
  4. Government of Canada (2015). "Crown of Maples" (PDF). Queen's Printer for Canada. pp. 16–18. สืบค้นเมื่อ 3 March 2016.[ลิงก์เสีย]
  5. Department of Canadian Heritage (February 2009), Canadian Heritage Portfolio (2 ed.), Ottawa: Queen's Printer for Canada, p. 3, ISBN 978-1-100-11529-0, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-31, สืบค้นเมื่อ 5 July 2009
  6. [2][3][4][5]
  7. Victoria (1867), Constitution Act, 1867, III.15, Westminster: Queen's Printer (ตีพิมพ์ 29 March 1867), สืบค้นเมื่อ 15 January 2009
  8. MacLeod 2012, p. 17
  9. Department of Canadian Heritage 2009, p. 4
  10. [7][8][9]
  11. J.A. Weiler (13 August 2014). "McAteer v. Canada (Attorney General), 2014 ONCA 578". Court of Appeal for Ontario. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2015. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
  12. Government of Canada (September 2009). "Discover Canada - Understanding the Oath". Citizenship and Immigration Canada. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
  13. "Parliamentary Framework - Role of the Crown". Parliament of Canada. October 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-07. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
  14. Philippe Lagassé (2 March 2015). "Citizenship and the hollowed Canadian Crown". Institute for Research on Public Policy. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
  15. John Allen (1849). Inquiry into the rise and growth of the royal prerogative in England. Longman, Brown, Green, and Longmans. pp. 4–7. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016. allen royal prerogative.
  16. Thomas Isaac (1994). "The Concept of Crown and Aboriginal Self-Government" (PDF). The Canadian Journal of Native Studies. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
  17. [13][14][15][16]
  18. Claude Bouchard (16 February 2016). "Jugement No. 200-17-018455-139" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Cour supérieure du Québec. p. 16. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016 – โดยทาง Le Devoir.
  19. 19.0 19.1 Romaniuk, Scott Nicholas; Wasylciw, Joshua K. (February 2015). "Canada's Evolving Crown: From a British Crown to a "Crown of Maples"". American, British and Canadian Studies Journal. 23 (1): 108–125. doi:10.1515/abcsj-2014-0030.
  20. Department of Canadian Heritage (2015). "Crown of Maples: Constitutional Monarchy in Canada" (PDF). Her Majesty the Queen in Right of Canada. p. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 พฤศจิกายน 2012. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
  21. "Queen and Canada". The Royal Household. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-20. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
  22. "The Queen of Canada". Government of Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2016. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
  23. Hicks, Bruce (2012). "The Westminster Approach to Prorogation, Dissolution and Fixed Date Elections" (PDF). Canadian Parliamentary Review. 35 (2): 20.
  24. McLeod 2008, p. 36
  25. Government of Canada (4 December 2015). "Why does the Governor General give the Speech?". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2018. สืบค้นเมื่อ 17 December 2015.
  26. [23][24][25]
  27. Jackson, Michael D. (2013), The Crown and Canadian Federalism, Dundurn Press, p. 55, ISBN 978-1-4597-0989-8, สืบค้นเมื่อ 6 June 2014
  28. Parsons, John (1 July 2008). "John Cabot". Historica Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-02. สืบค้นเมื่อ 20 January 2014.
  29. 29.0 29.1 Stephen Harper quoted in MacLeod 2008, p. vii
  30. Bousfield, Arthur; Toffoli, Garry. "The Sovereigns of Canada". Canadian Royal Heritage Trust. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2007. สืบค้นเมื่อ 5 March 2010.
  31. "Why Canada Needs the Monarchy", The Canadian Encyclopedia, Historica Canada, สืบค้นเมื่อ 18 February 2015
  32. Department of Canadian Heritage. "Ceremonial and Canadian Symbols Promotion > The Canadian Monarchy". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 14 May 2009.
  33. 33.0 33.1 Kenney, Jason (23 April 2007). "Speech to the Lieutenant Governors Meeting". Written at Regina. ใน Department of Canadian Heritage (บ.ก.). Speeches > The Honourable Jason Kenney. Ottawa: Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-11. สืบค้นเมื่อ 27 January 2010.
  34. 34.0 34.1 Valpy, Michael (13 November 2009). "The monarchy: Offshore, but built-in". The Globe and Mail. Toronto. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-01. สืบค้นเมื่อ 14 November 2009.
  35. MacLeod 2012, p. 6
  36. 36.0 36.1 Parliament of Canada. "Canada: A Constitutional Monarchy". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2011. สืบค้นเมื่อ 25 September 2009.
  37. MacLeod 2012, pp. 2–3, 39
  38. Monet, Jacques (2007). "Crown and Country" (PDF). Canadian Monarchist News. Toronto: Monarchist League of Canada. Summer 2007 (26): 8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 June 2008. สืบค้นเมื่อ 15 June 2009.
  39. [29][33][34][36][37][38]