วอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022
วอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022 (อังกฤษ: ASEAN Grand Prix 2022) (หรือ วอลเลย์บอลหญิง วัน อาเซียน กรังด์ปรีซ์ ครั้งที่ 2 (อังกฤษ: ONE 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation) ตามชื่อผู้สนับสนุน คือ เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 2 ของวอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ ซึ่งแข่งขันโดยทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจำนวน 4 ทีม ที่เป็นสมาชิกของสมาคมวอลเลย์บอลแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SAVA) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลกีฬาระดับภูมิภาคในสังกัดสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (AVC) โดยแข่งขันที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9–11 กันยายน พ.ศ. 2565[1][2]
รายละเอียด | |
---|---|
ประเทศเจ้าภาพ | ไทย |
เมือง | จังหวัดนครราชสีมา |
วันที่ | 9–11 กันยายน |
ทีม | 4 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 1 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ) |
ชนะเลิศ | ไทย (สมัยที่ 3rd) |
รองชนะเลิศ | เวียดนาม |
อันดับที่ 3 | อินโดนีเซีย |
อันดับที่ 4 | ฟิลิปปินส์ |
รางวัล | |
ผู้เล่นทรงคุณค่า | พิมพิชยา ก๊กรัมย์ |
ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม | พรพรรณ เกิดปราชญ์ |
ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยม | Trần Thị Thanh Thúy อัจฉราพร คงยศ |
ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม | Nguyễn Thị Trinh ฑิชากร บุญเลิศ |
ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยม | Megawati Hangestri Pertiwi |
ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม | Kyla Atienza |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 6 |
ผู้ชม | 22,400 (3,733 คนต่อนัด) |
เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ | |
อาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022 | |
ทีม
แก้สถานที่แข่ง
แก้รายชื่อเมืองเจ้าภาพและสถานที่มีดังนี้:
นครราชสีมา ประเทศไทย |
โคราช ชาติชาย ฮอลล์ |
ความจุ: 5,000 |
ผลการแข่งขัน
แก้อันดับ | ทีม | แข่ง | ชนะ | แพ้ | คะแนน | เซตชนะ | เซตแพ้ | อัตราส่วน | แต้มชนะ | แต้มแพ้ | อัตราส่วน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไทย | 3 | 3 | 0 | 9 | 9 | 0 | MAX | 226 | 164 | 1.378 |
2 | เวียดนาม | 3 | 2 | 1 | 6 | 6 | 3 | 2.000 | 210 | 171 | 1.228 |
3 | อินโดนีเซีย | 3 | 1 | 2 | 3 | 3 | 6 | 0.500 | 180 | 219 | 0.822 |
4 | ฟิลิปปินส์ | 3 | 0 | 3 | 0 | 0 | 9 | 0.000 | 164 | 226 | 0.726 |
แหล่งที่มา :
วันที่ | เวลา | คะแนน | เซต 1 | เซต 2 | เซต 3 | เซต 4 | เซต 5 | รวม | รายงาน | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
9 กันยายน | 15:00 | อินโดนีเซีย | 0–3 | เวียดนาม | 23–25 | 19–25 | 9–25 | 51–75 | รายงาน | ||
9 กันยายน | 18:00 | ไทย | 3–0 | ฟิลิปปินส์ | 25–17 | 25–22 | 25–12 | 75–51 | รายงาน | ||
10 กันยายน | 15:00 | เวียดนาม | 3–0 | ฟิลิปปินส์ | 25–12 | 25–16 | 25–16 | 75–44 | รายงาน | ||
10 กันยายน | 18:00 | อินโดนีเซีย | 0–3 | ไทย | 22–25 | 18–25 | 13–25 | 53–75 | รายงาน | ||
11 กันยายน | 15:00 | ฟิลิปปินส์ | 0–3 | อินโดนีเซีย | 24–26 | 22–25 | 23–25 | 69–76 | รายงาน | ||
11 กันยายน | 18:00 | ไทย | 3–0 | เวียดนาม | 25–19 | 25–17 | 26–24 | 76–60 | รายงาน |
อันดับการแข่งขัน
แก้
|
|
รางวัล
แก้- ผู้เล่นทรงคุณค่า
- พิมพิชยา ก๊กรัมย์ (THA)
- ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม
- พรพรรณ เกิดปราชญ์ (THA)
- ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยม
- Trần Thị Thanh Thúy (VIE)
- อัจฉราพร คงยศ (THA)
- ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม
- Nguyễn Thị Trinh (VIE)
- ฑิชากร บุญเลิศ (THA)
- ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยม
- Megawati Hangestri Pertiwi (INA)
- ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม
- Kyla Atienza (PHI)
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ ปรีชาชาญ (2022-09-05). "Nakhon Ratchasima ready to welcome teams to 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation at Chartchai Hall" [นครราชสีมาพร้อมต้อนรับทีมลุยศึกวอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ ครั้งที่ 2 ที่ชาติชายฮอลล์]. สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-06.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ ปรีชาชาญ (2022-09-07). "Vietnam, Indonesia, Philippines and hosts Thailand set to renew rivalries in 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation" [เวียดนาม, อินโดนีเซีย, ฟิลิปปินส์ และเจ้าภาพไทยเตรียมเริ่มการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ครั้งที่ 2]. AVC (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2022-09-09.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์)