ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาลชั้นต้น (ประเทศไทย)"
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขแบบเห็นภาพ ลิงก์แก้ความกำกวม |
|||
(ไม่แสดง 15 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 9 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
{{ต้องการอ้างอิง}} |
{{ต้องการอ้างอิง}} |
||
'''ศาลชั้นต้น''' เป็น[[ศาลยุติธรรม]] เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้<ref>สมลักษณ์ จัดกระบวนพล. ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยการพิจารณาคดี. 2555, หน้า 57</ref> |
'''ศาลชั้นต้น''' เป็น[[ศาลยุติธรรม (ประเทศไทย)|ศาลยุติธรรม]] เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้<ref>สมลักษณ์ จัดกระบวนพล. ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยการพิจารณาคดี. 2555,บัม หน้า 57</ref> |
||
== ประวัติ == |
== ประวัติ == |
||
===สมัยสุโขทัย=== |
===สมัยสุโขทัย=== |
||
⚫ | |||
[[ไฟล์:Ramkhamhaeng-Script1.png|thumb|ภาพสำเนา ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 1]] |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | |||
===สมัยกรุงศรีอยุธยา=== |
===สมัยกรุงศรีอยุธยา=== |
||
เมื่อ[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (พระเจ้าอู่ทอง)ทรงได้ก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้น พระองค์ได้ทรงปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่ายคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา เรียกว่า "[[จตุสดมภ์]]"<ref>บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. จตุสดมภ์. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B9%8C#cite_note-0</ref> โดยให้เสนาบดีกรมวังเป็นผู้ชำระความแทนพระมหากษัตริย์ กรมวังจึงมีหน้าที่ดูแลศาลหลวง และการแต่งตั้งยกกระบัตรไปทำหน้าที่ดูและความยุติธรรมหรือเป็นหัวหน้าศาลในหัวเมือง |
เมื่อ[[สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1]] (พระเจ้าอู่ทอง)ทรงได้ก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้น พระองค์ได้ทรงปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่ายคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา เรียกว่า "[[จตุสดมภ์]]"<ref>บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. จตุสดมภ์. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B9%8C#cite_note-0 {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180926105731/http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B9%8C#cite_note-0 |date=2018-09-26 }}</ref> โดยให้เสนาบดีกรมวังเป็นผู้ชำระความแทนพระมหากษัตริย์ กรมวังจึงมีหน้าที่ดูแลศาลหลวง และการแต่งตั้งยกกระบัตรไปทำหน้าที่ดูและความยุติธรรมหรือเป็นหัวหน้าศาลในหัวเมือง |
||
{{คำพูด|วิธีการพิจารณาและพิพากษาคดีในประเทศสยามตามแบบครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ยังใช้ต่อมาในกรุงรัตนโกสินทร์จนกระทั่งตั้งกระทรวงยุติธรรมในรัชกาล ที่ ๕ เป็นวิธีแปลกที่เอาแบบอินเดียมาประสมกับแบบไทย ด้วยความฉลาดอันพึงเห็นได้ในเรื่องนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเป็นประเพณีที่ไม่มีเหมือนในประเทศอื่น คือใช้บุคคล ๒ จำพวกเป็นพนักงานตุลาการ จำพวกหนึ่งเป็นพราหมณ์ชาวต่างประเทศซึ่งเชี่ยวชาญทางนิติศาสตร์ เรียกว่า ลูกขุน ณ ศาลหลวง มี ๑๒ คน หัวหน้าเป็นพระมหาราชครูปุโรหิตคน ๑ พระมหาราชครูมหิธรคน ๑ ถือศักดินาเท่าเจ้าพระยา หน้าที่ของลูกขุน ณ ศาลหลวงสำหรับชี้บทกฎหมายแต่จะบังคับบัญชาอย่างใดไม่ได้ อำนาจการบังคับบัญชาทุกอย่างอยู่กับเจ้าพนักงานที่เป็นไทย...|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<ref>ศาลในสมัยกรุงศรีอยุธยา. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=79</ref>}} |
{{คำพูด|วิธีการพิจารณาและพิพากษาคดีในประเทศสยามตามแบบครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ยังใช้ต่อมาในกรุงรัตนโกสินทร์จนกระทั่งตั้งกระทรวงยุติธรรมในรัชกาล ที่ ๕ เป็นวิธีแปลกที่เอาแบบอินเดียมาประสมกับแบบไทย ด้วยความฉลาดอันพึงเห็นได้ในเรื่องนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเป็นประเพณีที่ไม่มีเหมือนในประเทศอื่น คือใช้บุคคล ๒ จำพวกเป็นพนักงานตุลาการ จำพวกหนึ่งเป็นพราหมณ์ชาวต่างประเทศซึ่งเชี่ยวชาญทางนิติศาสตร์ เรียกว่า ลูกขุน ณ ศาลหลวง มี ๑๒ คน หัวหน้าเป็นพระมหาราชครูปุโรหิตคน ๑ พระมหาราชครูมหิธรคน ๑ ถือศักดินาเท่าเจ้าพระยา หน้าที่ของลูกขุน ณ ศาลหลวงสำหรับชี้บทกฎหมายแต่จะบังคับบัญชาอย่างใดไม่ได้ อำนาจการบังคับบัญชาทุกอย่างอยู่กับเจ้าพนักงานที่เป็นไทย...|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ<ref>ศาลในสมัยกรุงศรีอยุธยา. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=79{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref>}} |
||
ต่อมา ในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] มีการปรับปรุงระบบการปกครองขึ้นอีกครั้งหนึ่งมีการจัดตั้งกรมขึ้นสองกรม ได้แก่ กรมมหาดไทย ซึ่งดูแลกิจการพลเรือน โดยมีสมุหนายกเป็นอัครเสนาบดีดูแล และกรมกลาโหม ซึ่งดูแลกิจการทหาร โดยมีสมุหพระกลาโหมดูแล จตุสดมภ์นั้นให้มาขึ้นกับกรมมหาดไทยแล้วมีการเปลี่ยนชื่อและเพิ่มหน้าที่ โดยเฉพาะการขยายศาลไปทุกกรม ทำหน้าที่ตัดสินคดีความที่เกี่ยวข้องกับกรมของตน เช่น ศาลนครบาลขึ้นกับกรมพระนครบาล(กรมเมือง) ทำหน้าที่ชำระความคดีโจรผู้ร้าย ศาลความอาญา ศาลความแพ่งขึ้นกับกรมธรรมาธิบดี(กรมวัง) ชำระความคดีอาญาและคดีความแพ่งทั้งปวง ศาลการกระทรวง ขึ้นอยู่กับกรมอื่น ๆ ชำระคดีที่อยู่ในหน้าที่ของกรมนั้น ๆ |
ต่อมา ในสมัย[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] มีการปรับปรุงระบบการปกครองขึ้นอีกครั้งหนึ่งมีการจัดตั้งกรมขึ้นสองกรม ได้แก่ กรมมหาดไทย ซึ่งดูแลกิจการพลเรือน โดยมีสมุหนายกเป็นอัครเสนาบดีดูแล และกรมกลาโหม ซึ่งดูแลกิจการทหาร โดยมีสมุหพระกลาโหมดูแล จตุสดมภ์นั้นให้มาขึ้นกับกรมมหาดไทยแล้วมีการเปลี่ยนชื่อและเพิ่มหน้าที่ โดยเฉพาะการขยายศาลไปทุกกรม ทำหน้าที่ตัดสินคดีความที่เกี่ยวข้องกับกรมของตน เช่น ศาลนครบาลขึ้นกับกรมพระนครบาล(กรมเมือง) ทำหน้าที่ชำระความคดีโจรผู้ร้าย ศาลความอาญา ศาลความแพ่งขึ้นกับกรมธรรมาธิบดี(กรมวัง) ชำระความคดีอาญาและคดีความแพ่งทั้งปวง ศาลการกระทรวง ขึ้นอยู่กับกรมอื่น ๆ ชำระคดีที่อยู่ในหน้าที่ของกรมนั้น ๆ |
||
บรรทัด 18: | บรรทัด 17: | ||
การพิจารณาและพิพากษาคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็นหลายหน้าที่ให้หลายหน่วยงานทำงานร่วมกัน เริ่มจากกรมรับฟ้อง ลูกขุน ตระลาการ ผู้ปรับ กล่าวคือ กรมรับฟ้อง เป็นกรมต่างหาก มีหน้าที่รับฟ้องจากผู้เดือดร้อนทางอรรถคดี กรมรับฟ้องนำฟ้องเสนอลูกขุนที่เป็นกรมต่างหาก เมื่อลูกขุนตรวจฟ้องแล้ว กรมรับฟ้องก็จะส่งฟ้องไปยังศาลต่าง ๆ ที่แยกย้ายกันสังกัดกระทรวงกรมต่าง ๆ ศาลใดศาลหนึ่งแล้วแต่คดีความนั้นจะอยู่ในอำนาจศาลใด เช่น ศาลกรมวัง ศาลกรมนา เป็นต้น แต่ละศาลจะมีตระลาการที่จะพิจารณาไต่สวนอรรถคดีเป็นของตนเอง โดยมีลูกขุนและผู้ปรับซึ่งอยู่ในกรมอื่นต่างหากทำหน้าที่ชี้ขาดและปรับสินไหมพินัยร่วมกันอยู่ |
การพิจารณาและพิพากษาคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็นหลายหน้าที่ให้หลายหน่วยงานทำงานร่วมกัน เริ่มจากกรมรับฟ้อง ลูกขุน ตระลาการ ผู้ปรับ กล่าวคือ กรมรับฟ้อง เป็นกรมต่างหาก มีหน้าที่รับฟ้องจากผู้เดือดร้อนทางอรรถคดี กรมรับฟ้องนำฟ้องเสนอลูกขุนที่เป็นกรมต่างหาก เมื่อลูกขุนตรวจฟ้องแล้ว กรมรับฟ้องก็จะส่งฟ้องไปยังศาลต่าง ๆ ที่แยกย้ายกันสังกัดกระทรวงกรมต่าง ๆ ศาลใดศาลหนึ่งแล้วแต่คดีความนั้นจะอยู่ในอำนาจศาลใด เช่น ศาลกรมวัง ศาลกรมนา เป็นต้น แต่ละศาลจะมีตระลาการที่จะพิจารณาไต่สวนอรรถคดีเป็นของตนเอง โดยมีลูกขุนและผู้ปรับซึ่งอยู่ในกรมอื่นต่างหากทำหน้าที่ชี้ขาดและปรับสินไหมพินัยร่วมกันอยู่ |
||
ในสมัย[[พระเจ้าทรงธรรม]]ได้มีการตรากฎหมายวิธีสบัญญัติเกี่ยวกับพระธรรมนูญศาลยุติธรรมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2165 ซึ่งในกฎหมายตราสามดวงเรียกกฎหมายดังกล่าวว่า “พระธรรมนูญ” จากกฎหมายฉบับนี้ทำให้ทราบได้ว่า สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งนับแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นมา มีศาลที่พิจารณาอรรถคดีต่าง ๆ กัน 14 ประเภท ดังนี้ |
ในสมัย[[สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม|พระเจ้าทรงธรรม]]ได้มีการตรากฎหมายวิธีสบัญญัติเกี่ยวกับพระธรรมนูญศาลยุติธรรมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2165 ซึ่งในกฎหมายตราสามดวงเรียกกฎหมายดังกล่าวว่า “พระธรรมนูญ” จากกฎหมายฉบับนี้ทำให้ทราบได้ว่า สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งนับแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นมา มีศาลที่พิจารณาอรรถคดีต่าง ๆ กัน 14 ประเภท ดังนี้ |
||
*ศาลความอุทธรณ์หรือศาลหลวง พิจารณาคดีเกี่ยวกับตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำมิชอบในคดี เช่น ฟ้องว่าตระลาการเป็นใจกับคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทำชู้กับคู่ความ เจ้าหน้าที่ในศาลรับสินบนหรือฟ้องว่าพยานเบิกความเท็จ |
*ศาลความอุทธรณ์หรือศาลหลวง พิจารณาคดีเกี่ยวกับตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำมิชอบในคดี เช่น ฟ้องว่าตระลาการเป็นใจกับคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทำชู้กับคู่ความ เจ้าหน้าที่ในศาลรับสินบนหรือฟ้องว่าพยานเบิกความเท็จ |
||
บรรทัด 45: | บรรทัด 44: | ||
*ศาลความสังกัด หรือศาลกระทรวงสัสดี พิจารณาความพิพาทเกี่ยวกับหมู่ หมายของบ่าวไพร่ การปันหมู่ |
*ศาลความสังกัด หรือศาลกระทรวงสัสดี พิจารณาความพิพาทเกี่ยวกับหมู่ หมายของบ่าวไพร่ การปันหมู่ |
||
*ศาลความเวทมนตร์ หรือศาลกระทรวงแพทยา พิจารณาความกล่าวหาว่า เป็นกระสือกระหัง ทำเวทมนตร์อาคม ใส่ |
* ศาลความเวทมนตร์ หรือศาลกระทรวงแพทยา พิจารณาความกล่าวหาว่า เป็นกระสือกระหัง ทำเวทมนตร์อาคม ใส่ยาว่าน ทำเสน่ห์ยาแฝดยาเมา รีดลูก โดยผู้เสียหายไม่ถึงตาย หรือคดีพราหมณ์โยคีเป็นโจทก์จำเลยหาความกัน เป็นต้น ถ้าความเกินในหัวเมืองขุนหมื่นกรมแพทยาหัวเมืองเป็นผู้พิจารณา |
||
ตามระบบการศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาถือว่าเมื่อมีคำพิพากษาของศาลแล้ว คดีเป็นอันเสร็จเด็ดขาดเลย ไม่มีการฟ้องร้องระหว่างคู่ความเดิมในศาลชั้นสูงอีก ยกเว้นกรณีคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเห็นว่าตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานซึ่งเกี่ยวข้องกับคดีของตนกระทำมิชอบหรือไม่ให้ความยุติธรรมแก่ตนก็อาจฟ้องร้องกล่าวหาตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานนั้น ๆ ต่อศาลหลวง คดีในลักษณะเช่นนี้ในสมัยกรุงศรีอยุธยานับว่าเป็นความอุทธรณ์ และศาลหลวงก็คือศาลอุทธรณ์ในสมัยนั้น ส่วนศาลฎีกานั้นยังไม่มี แต่อาจมีราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์บ้าง |
ตามระบบการศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาถือว่าเมื่อมีคำพิพากษาของศาลแล้ว คดีเป็นอันเสร็จเด็ดขาดเลย ไม่มีการฟ้องร้องระหว่างคู่ความเดิมในศาลชั้นสูงอีก ยกเว้นกรณีคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเห็นว่าตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานซึ่งเกี่ยวข้องกับคดีของตนกระทำมิชอบหรือไม่ให้ความยุติธรรมแก่ตนก็อาจฟ้องร้องกล่าวหาตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานนั้น ๆ ต่อศาลหลวง คดีในลักษณะเช่นนี้ในสมัยกรุงศรีอยุธยานับว่าเป็นความอุทธรณ์ และศาลหลวงก็คือศาลอุทธรณ์ในสมัยนั้น ส่วนศาลฎีกานั้นยังไม่มี แต่อาจมีราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์บ้าง |
||
===สมัยกรุงรัตนโกสินทร์=== |
===สมัยกรุงรัตนโกสินทร์=== |
||
====รัชกาลที่ 1 - 4==== |
====รัชกาลที่ 1 - 4==== |
||
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (รัชกาลที่ ๑) ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีนั้น แม้จะมีการชำระกฎหมายตราสามดวง แต่ระบบการศาลก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกรุงศรีอยุธยา |
เมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช|พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]] (รัชกาลที่ ๑) ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีนั้น แม้จะมีการชำระกฎหมายตราสามดวง แต่ระบบการศาลก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกรุงศรีอยุธยา |
||
“ กระทรวงศาลหลวงตามฉันทกล่อมกลอง ”<ref>ศาลในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นก่อนการปฏิรูปการศาลไทย. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=81</ref> ซึ่งแต่งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๓๘๐ ซึ่งรวมอยู่ในแฟ้มอธิบายกระทรวงศาลแลกระบวนพิจารณาความอย่างเก่า ทำให้ทราบได้ว่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีศาลประเภทต่าง ๆ ดังนี้ |
“ กระทรวงศาลหลวงตามฉันทกล่อมกลอง ”<ref>ศาลในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นก่อนการปฏิรูปการศาลไทย. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=81{{ลิงก์เสีย|date=ตุลาคม 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ซึ่งแต่งขึ้นในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่ ๓) เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๓๘๐ ซึ่งรวมอยู่ในแฟ้มอธิบายกระทรวงศาลแลกระบวนพิจารณาความอย่างเก่า ทำให้ทราบได้ว่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีศาลประเภทต่าง ๆ ดังนี้ |
||
*ศาลอาญานอก สังกัดกลาโหม |
*ศาลอาญานอก สังกัดกลาโหม |
||
*ศาลอุทธรณ์ สังกัดมหาดไทย |
*ศาลอุทธรณ์ สังกัดมหาดไทย |
||
บรรทัด 64: | บรรทัด 65: | ||
*ศาลกรมสุรัสวดี |
*ศาลกรมสุรัสวดี |
||
*ศาลพระคลังมหาสมบัติ |
*ศาลพระคลังมหาสมบัติ |
||
*ศาลกรมแพทยา |
|||
*ศาลแพ่งเกษม |
*ศาลแพ่งเกษม |
||
*ศาลแพ่งกลาง หรือศาลแพ่งไกรสี |
*ศาลแพ่งกลาง หรือศาลแพ่งไกรสี |
||
บรรทัด 81: | บรรทัด 81: | ||
**ศาลในกระทรวงมหาสมบัติ มีอำนาจชำระคดีภาษีและหนี้หลวง |
**ศาลในกระทรวงมหาสมบัติ มีอำนาจชำระคดีภาษีและหนี้หลวง |
||
**ศาลกรมวัง แบ่งเป็น ๔ ศาล คือ ศาลอาญาวัง ศาลนครบาลวัง ศาลแพ่งวัง ศาลมรดก ชำระความที่จำเลยเป็นสมใน |
**ศาลกรมวัง แบ่งเป็น ๔ ศาล คือ ศาลอาญาวัง ศาลนครบาลวัง ศาลแพ่งวัง ศาลมรดก ชำระความที่จำเลยเป็นสมใน |
||
**ศาลกรมแพทยา ชำระคดีเกี่ยวกับการกระทำอาคมเวทวิทยาคมแก่กัน |
|||
**ศาลกรมธรรมการ ชำระคดีพระสงฆ์สามเณรกระทำผิดวินัย |
**ศาลกรมธรรมการ ชำระคดีพระสงฆ์สามเณรกระทำผิดวินัย |
||
**ศาลกรมสรรพากรใน ชำระคดีนายระวางกำนันผู้เก็บอากรขนอนตลาดวิวาทกัน |
**ศาลกรมสรรพากรใน ชำระคดีนายระวางกำนันผู้เก็บอากรขนอนตลาดวิวาทกัน |
||
บรรทัด 93: | บรรทัด 92: | ||
่ |
่ |
||
====การปฏิรูปศาลในรัชกาลที่ 5==== |
====การปฏิรูปศาลในรัชกาลที่ 5==== |
||
ต่อมา เกิดวิกฤตทางการศาลในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดจากสาเหตุสำคัญ<ref>ประวัติกระทรวงยุติธรรม. http://www.moj.go.th/th/home/history</ref> คือ |
ต่อมา เกิดวิกฤตทางการศาลในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดจากสาเหตุสำคัญ<ref>ประวัติกระทรวงยุติธรรม. http://www.moj.go.th/th/home/history {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20150317140229/http://www.moj.go.th/th/home/history |date=2015-03-17 }}</ref> คือ |
||
[[ไฟล์:Prince Svastivatana Visishta.jpg|thumb|140px|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก]] |
[[ไฟล์:Prince Svastivatana Visishta.jpg|thumb|140px|สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิโสภณ กรมพระสวัสดิวัดนวิศิษฎ์ เสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก]] |
||
บรรทัด 100: | บรรทัด 99: | ||
*ความบีบคั้นจากต่างประเทศในด้านการศาล : เนื่องจากชาวต่างประเทศมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในประเทศ ซึ่งเป็นปัญหาในการ ปกครองประเทศเป็นอันมาก เพราะ กงสุลต่างประเทศถือโอกาสตีความสนธิสัญญา และไม่เคารพ ยำเกรง ต่อกฎหมายและการศาลไทย |
*ความบีบคั้นจากต่างประเทศในด้านการศาล : เนื่องจากชาวต่างประเทศมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในประเทศ ซึ่งเป็นปัญหาในการ ปกครองประเทศเป็นอันมาก เพราะ กงสุลต่างประเทศถือโอกาสตีความสนธิสัญญา และไม่เคารพ ยำเกรง ต่อกฎหมายและการศาลไทย |
||
ประเทศไทยจึงต้องปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลไทยใหม่อย่างเร่งด่วน ดังนั้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 (รศ. 110) [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศจัดตั้ง[[กระทรวงยุติธรรม]]ขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมศาลที่กระจัดกระจายตามกระทรวงต่างๆ เข้ามาไว้ในกระทรวงยุติธรรม ให้มีเสนาบดีเป็นประธาน เพื่อที่จะจัดวางรูปแบบศาลและกำหนดวิธีพิจารณาคดีขึ้นใหม่ โดยมี[[กรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฎ์]]เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก ได้ทรงวางระเบียบศาลตามแบบใหม่ ซึ่งเดิมตาม[[ประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรม]]มีศาลทั้งหมด 16 ศาล ให้รวมมาเป็นศาลสถิตย์ยุติธรรมให้เหลือเพียง 7 ศาล คือ |
ประเทศไทยจึงต้องปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลไทยใหม่อย่างเร่งด่วน ดังนั้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 (รศ. 110) [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศจัดตั้ง[[กระทรวงยุติธรรม (ประเทศไทย)|กระทรวงยุติธรรม]]ขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมศาลที่กระจัดกระจายตามกระทรวงต่างๆ เข้ามาไว้ในกระทรวงยุติธรรม ให้มีเสนาบดีเป็นประธาน เพื่อที่จะจัดวางรูปแบบศาลและกำหนดวิธีพิจารณาคดีขึ้นใหม่ โดยมี[[กรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฎ์]]เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก ได้ทรงวางระเบียบศาลตามแบบใหม่ ซึ่งเดิมตาม[[ประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรม]]มีศาลทั้งหมด 16 ศาล ให้รวมมาเป็นศาลสถิตย์ยุติธรรมให้เหลือเพียง 7 ศาล คือ |
||
*ศาลฎีกา เรียกเป็น ศาลอุทธรณ์คดีหลวง |
*ศาลฎีกา เรียกเป็น ศาลอุทธรณ์คดีหลวง |
||
*ศาลอุทธรณ์มหาดไทย เรียกเป็น อุทธรณ์คดีราษฎร์ |
*ศาลอุทธรณ์มหาดไทย เรียกเป็น อุทธรณ์คดีราษฎร์ |
||
บรรทัด 108: | บรรทัด 107: | ||
*ศาลสรรพากร ศาลมรฎก รวมเรียกว่า ศาลสรรพากร |
*ศาลสรรพากร ศาลมรฎก รวมเรียกว่า ศาลสรรพากร |
||
*ศาลต่างประเทศ คงไว้ตามเดิม |
*ศาลต่างประเทศ คงไว้ตามเดิม |
||
⚫ | ต่อมาปี พ.ศ. 2437 (ร.ศ.115) [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์]] ทรงเป็น[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (ไทย)|เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม]] พระองค์ทรงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิรูปการศาล เช่น ทรงแก้ปัญหาศาลกงสุลต่างชาติ โดยการจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิพากษา เป็นเหตุให้ผู้พิพากษาศาลไทยเกิดความกระตือรือร้นเร่งศึกษากฎหมายไทยและต่างประเทศ จนทำให้ศาลไทยมีความเชื่อถือมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติจนยกเลิกศาลกงสุลยอมให้คนชาติตัวเองมาขึ้นศาลไทย พระองค์ยังขอพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตให้ศาลในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถกำหนดโทษเองได้ เนื่องจากในสมัยนั้นเมื่อศาลกำหนดโทษจำคุกผู้ต้องหาแล้ว ต้องให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดเวลาให้อีกชั้นหนึ่ง ช่วยลดความล่าช้าในวงการศาล ทรงปรับปรุงเงินเดือนผู้พิพากษาให้เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่และพระราชกรณียกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือในปี พ.ศ. 2440 ได้ทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้น ถือเป็นการผลิตนักกฎหมายที่มีคุณภาพให้สังคมเป็นอย่างมาก |
||
[[ไฟล์:พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์.jpg|thumb|left|พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระบิดาแห่งกฎหมายไทย]] |
|||
⚫ | ต่อมาปี พ.ศ. 2437 (ร.ศ.115) [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์]] ทรงเป็น[[เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม]] พระองค์ทรงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิรูปการศาล เช่น ทรงแก้ปัญหาศาลกงสุลต่างชาติ โดยการจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิพากษา เป็นเหตุให้ผู้พิพากษาศาลไทยเกิดความกระตือรือร้นเร่งศึกษากฎหมายไทยและต่างประเทศ จนทำให้ศาลไทยมีความเชื่อถือมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติจนยกเลิกศาลกงสุลยอมให้คนชาติตัวเองมาขึ้นศาลไทย พระองค์ยังขอพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตให้ศาลในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถกำหนดโทษเองได้ เนื่องจากในสมัยนั้นเมื่อศาลกำหนดโทษจำคุกผู้ต้องหาแล้ว ต้องให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดเวลาให้อีกชั้นหนึ่ง ช่วยลดความล่าช้าในวงการศาล ทรงปรับปรุงเงินเดือนผู้พิพากษาให้เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่และพระราชกรณียกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือในปี พ.ศ. 2440 ได้ทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้น ถือเป็นการผลิตนักกฎหมายที่มีคุณภาพให้สังคมเป็นอย่างมาก |
||
ในปี พ.ศ. 2439 (รศ. 117) ได้รวบรวมศาลหัวเมืองต่าง ๆ ตั้งเป็นศาลมณฑลสังกัดกระทรวงยุติธรรม |
ในปี พ.ศ. 2439 (รศ. 117) ได้รวบรวมศาลหัวเมืองต่าง ๆ ตั้งเป็นศาลมณฑลสังกัดกระทรวงยุติธรรม |
||
บรรทัด 116: | บรรทัด 113: | ||
ในปี พ.ศ. 2451 (รศ. 127) ประกาศให้ใช้[[พระธรรมนูญศาลยุติธรรม]] ให้แบ่งเป็น ศาลฎีการับผิดชอบต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว และให้มีศาลขึ้นอยู่ในกระทรวงยุติธรรม 2 ประเภท คือ ศาลสถิตย์ยุติธรรมกรุงเทพฯ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ ศาลพระราชอาญา ศาลแพ่ง ศาลต่างประเทศ และศาลโปริสภา กับศาลหัวเมือง ลักษณะจึงกลายเป็นว่า มีศาลของเมืองหลวง, ศาลหัวเมืองต่างจังหวัด และศาลสูงสุดคือศาลฎีกา |
ในปี พ.ศ. 2451 (รศ. 127) ประกาศให้ใช้[[พระธรรมนูญศาลยุติธรรม]] ให้แบ่งเป็น ศาลฎีการับผิดชอบต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว และให้มีศาลขึ้นอยู่ในกระทรวงยุติธรรม 2 ประเภท คือ ศาลสถิตย์ยุติธรรมกรุงเทพฯ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ ศาลพระราชอาญา ศาลแพ่ง ศาลต่างประเทศ และศาลโปริสภา กับศาลหัวเมือง ลักษณะจึงกลายเป็นว่า มีศาลของเมืองหลวง, ศาลหัวเมืองต่างจังหวัด และศาลสูงสุดคือศาลฎีกา |
||
ต่อมาได้มี[[ประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม]] ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 แยกหน้าที่ ราชการกระทรวงยุติธรรมเป็นธุรการส่วนหนึ่งและฝ่ายตุลาการอีกส่วนหนึ่งและยกศาลฎีกามารวมอยู่ในกระทรวงยุติธรรม และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง[[อธิบดีศาลฎีกา]]เป็นประธานในแผนกตุลาการ โดย[[กรมหลวงพิชิตปรีชากร]] ได้ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[อธิบดีศาลฎีกา]]คนแรกในส่วนระเบียบราชการนั้น ให้เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจและหน้าที่บังคับบัญชาราชการและรับผิดชอบในบรรดาราชการที่เป็นส่วนธุรการทั่วไป แต่ในส่วนที่เป็นตุลาการ ให้เสนาบดีเป็นที่ปรึกษาหารือและฟังความเห็นอธิบดีศาลฎีกาแล้ววินิจฉัยไปตามที่ตกลงกัน ถ้ามีความเห็นแตกต่างกัน ให้เสนาบดีพร้อมอธิบดีศาลฎีกา นำความกราบบังคมทูลเรียนพระราชปฏิบัติ |
ต่อมาได้มี[[ประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม]] ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 แยกหน้าที่ ราชการกระทรวงยุติธรรมเป็นธุรการส่วนหนึ่งและฝ่ายตุลาการอีกส่วนหนึ่งและยกศาลฎีกามารวมอยู่ในกระทรวงยุติธรรม และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง[[ประธานศาลฎีกา|อธิบดีศาลฎีกา]]เป็นประธานในแผนกตุลาการ โดย[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงพิชิตปรีชากร|กรมหลวงพิชิตปรีชากร]] ได้ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็น[[ประธานศาลฎีกา|อธิบดีศาลฎีกา]]คนแรกในส่วนระเบียบราชการนั้น ให้เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจและหน้าที่บังคับบัญชาราชการและรับผิดชอบในบรรดาราชการที่เป็นส่วนธุรการทั่วไป แต่ในส่วนที่เป็นตุลาการ ให้เสนาบดีเป็นที่ปรึกษาหารือและฟังความเห็นอธิบดีศาลฎีกาแล้ววินิจฉัยไปตามที่ตกลงกัน ถ้ามีความเห็นแตกต่างกัน ให้เสนาบดีพร้อมอธิบดีศาลฎีกา นำความกราบบังคมทูลเรียนพระราชปฏิบัติ |
||
==ประเภท== |
==ประเภท== |
||
บรรทัด 126: | บรรทัด 123: | ||
|} |
|} |
||
มีอำนาจพิจารณาพิพากษา[[คดีแพ่ง]]ทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น ได้แก่ |
มีอำนาจพิจารณาพิพากษา[[คดีแพ่ง]]ทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น ได้แก่ |
||
* ศาลแพ่ง |
|||
* ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ |
|||
* ศาลแพ่งธนบุรี |
|||
* ศาลแพ่งมีนบุรี |
|||
* ศาลแพ่งตลิ่งชัน |
|||
* ศาลแพ่งพระโขนง |
|||
====ศาลแพ่ง==== |
====ศาลแพ่ง==== |
||
มีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตดอนเมือง]] [[เขตดุสิต]] [[เขตสายไหม]] (เฉพาะแขวงคลองถนน) [[เขตพญาไท]] [[เขตหลักสี่]] [[เขตดินแดง]] [[เขตบางเขน]] |
มีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตดอนเมือง]] [[เขตดุสิต]] [[เขตสายไหม]] (เฉพาะแขวงคลองถนน) [[เขตพญาไท]] [[เขตหลักสี่]] [[เขตดินแดง]] [[เขตบางเขน]] |
||
(เฉพาะแขวงอนุสาวรีย์) [[เขตห้วยขวาง]] [[เขตบางซื่อ]] [[เขตวังทองหลาง]] [[เขตจตุจักร]] [[เขตบางกะปิ]] [[เขตลาดพร้าว]] (เฉพาะแขวงลาดพร้าว) [[เขตราชเทวี]] [[เขตบึงกุ่ม]] และ[[เขตพระนคร]] |
(เฉพาะแขวงอนุสาวรีย์) [[เขตห้วยขวาง]] [[เขตบางซื่อ]] [[เขตวังทองหลาง]] [[เขตจตุจักร]] [[เขตบางกะปิ]] [[เขตลาดพร้าว]] (เฉพาะแขวงลาดพร้าว) [[เขตราชเทวี]] [[เขตบึงกุ่ม]] และ[[เขตพระนคร]] |
||
ปัจจุบัน |
ปัจจุบัน ศาลแพ่งตั้งอยู่ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล [[เขตจตุจักร]] [[กรุงเทพมหานคร]] |
||
====ศาลแพ่งกรุงเทพใต้==== |
====ศาลแพ่งกรุงเทพใต้==== |
||
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=106|issue=พิเศษ 127|pages=5|title=พระราชบัญญัติ |
จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=106|issue=พิเศษ 127|pages=5|title=พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a830&lawPath=%a830-20-2532-a0001|date=24 พฤศจิกายน 2532|language=}}{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> โดยมีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตบางรัก]] [[เขตสาทร]] [[เขตยานนาวา]] [[เขตบางคอแหลม]] [[เขตปทุมวัน]] [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[เขตคลองเตย]] และ[[เขตวัฒนา]] |
||
จัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a830&lawPath=%a830-20-2532-a0001|date=24 พฤศจิกายน 2532|language=}}</ref> โดยมีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตบางรัก]] [[เขตสาทร]] [[เขตยานนาวา]] [[เขตบางคอแหลม]] [[เขตปทุมวัน]] [[เขตสัมพันธวงศ์]] [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย]] [[เขตคลองเตย]] และ[[เขตวัฒนา]] |
|||
ปัจจุบัน |
ปัจจุบัน ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ตั้งอยู่ที่ซอยเจริญกรุง 63 ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา [[เขตสาทร]] [[กรุงเทพมหานคร]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=124|issue=27 ก|pages=35|title=พระราชกฤษฎีกา กำหนดที่ตั้งและวันเปิดทำการศาลแพ่งกรุงเทพใต้และศาลอาญากรุงเทพใต้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a830&lawPath=%a830-2a-2550-a0001|date=18 มิถุนายน 2550|language=}}</ref> |
||
====ศาลแพ่งธนบุรี==== |
====ศาลแพ่งธนบุรี==== |
||
จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=95|issue=พิเศษ 17|pages=1|title=พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a833&lawPath=%a833-20-2520-a0001|date=9 มีนาคม 2520|language=}}</ref> โดยมีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตจอมทอง]] [[เขตบางขุนเทียน]] [[เขตบางบอน]] [[เขตราษฎร์บูรณะ]] [[เขตทุ่งครุ]] [[เขตคลองสาน]] [[เขตธนบุรี]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตภาษีเจริญ]] |
จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=95|issue=พิเศษ 17|pages=1|title=พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a833&lawPath=%a833-20-2520-a0001|date=9 มีนาคม 2520|language=}}</ref> โดยมีเขตอำนาจเหนือ[[คดีแพ่ง]]ที่เกิดขึ้นใน[[เขตจอมทอง]] [[เขตบางขุนเทียน]] [[เขตบางบอน]] [[เขตราษฎร์บูรณะ]] [[เขตทุ่งครุ]] [[เขตคลองสาน]] [[เขตธนบุรี]] [[เขตบางแค]] และ[[เขตภาษีเจริญ]] |
||
ปัจจุบัน |
ปัจจุบัน ศาลแพ่งธนบุรีตั้งอยู่ที่ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน [[เขตจอมทอง]] [[กรุงเทพมหานคร]]<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=98|issue=พิเศษ 122|pages=13|title=พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ตั้งและวันเปิดทำการศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2524|url=http://app-thca.krisdika.go.th/Naturesig/CheckSig?whichLaw=law2&folderName=%a833&lawPath=%a833-2a-2524-a0001|date=27 กรกฎาคม 2524|language=}}{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> |
||
===ศาลอาญา=== |
===ศาลอาญา=== |
||
มีอำนาจพิจารณาพิพากษา |
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น รวมทั้งคดีอื่นใดที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีอาญา แล้วแต่กรณี ได้แก่ |
||
* ศาลอาญา |
* ศาลอาญา |
||
* ศาลอาญากรุงเทพใต้ |
* ศาลอาญากรุงเทพใต้ |
||
* ศาลอาญาธนบุรี |
* ศาลอาญาธนบุรี |
||
* ศาลอาญามีนบุรี |
|||
* ศาลอาญาตลิ่งชัน |
|||
* ศาลอาญาพระโขนง |
|||
===[[ศาลจังหวัด]]=== |
===[[ศาลจังหวัด]]=== |
||
บรรทัด 153: | บรรทัด 160: | ||
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวง มีเขตอำนาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้น ๆ |
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวง มีเขตอำนาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้น ๆ |
||
===[[ศาลแขวง]]=== |
===[[ศาลแขวง (ประเทศไทย)|ศาลแขวง]]=== |
||
''ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ [[ศาลแขวง (ประเทศไทย)|ศาลแขวง]]'' |
''ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ [[ศาลแขวง (ประเทศไทย)|ศาลแขวง]]'' |
||
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีและมีอำนาจทำการไต่สวน หรือมีคำสั่งใด ๆ ซึ่ง[[ผู้พิพากษา]]คนเดียวมีอำนาจตามที่กฎหมายกำหนดไว้ |
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีและมีอำนาจทำการไต่สวน หรือมีคำสั่งใด ๆ ซึ่ง[[ตุลาการ|ผู้พิพากษา]]คนเดียวมีอำนาจตามที่กฎหมายกำหนดไว้ |
||
=== ศาลชำนัญพิเศษ === |
=== ศาลชำนัญพิเศษ === |
||
ศาลชำนัญพิเศษ คือศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะเรื่องเป็นพิเศษ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ทั้งสองฝ่ายมากที่สุด ปัจจุบัน ศาลชำนัญพิเศษ มีดังนี้ |
ศาลชำนัญพิเศษ คือศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะเรื่องเป็นพิเศษ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ทั้งสองฝ่ายมากที่สุด ปัจจุบัน ศาลชำนัญพิเศษ มีดังนี้ |
||
* [[ |
* [[ศาลเยาวชนและครอบครัว]] |
||
* [[ศาลแรงงาน]] |
* [[ศาลแรงงาน (ประเทศไทย)|ศาลแรงงาน]] |
||
* [[ศาลภาษีอากร]] |
* [[ศาลภาษีอากร (ประเทศไทย)|ศาลภาษีอากร]] |
||
* [[ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ]] |
* [[ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ]] |
||
* [[ศาลล้มละลาย (ประเทศไทย)|ศาลล้มละลาย]] |
* [[ศาลล้มละลาย (ประเทศไทย)|ศาลล้มละลาย]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 17:53, 13 ธันวาคม 2566
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ศาลชั้นต้น เป็นศาลยุติธรรม เป็นศาลที่พิจารณาและชี้ขาดตัดสินคดีในชั้นแรก โดยทั่วไป ผู้ใดที่มีคดีความและประสงค์จะใช้สิทธิฟ้องร้องจะต้องยื่นฟ้องที่ศาลนี้[1]
ประวัติ
[แก้]สมัยสุโขทัย
[แก้]ในปากประตูมีกระดิ่งอันหนึ่งแขวนไว้หั้น ไพร่ฟ้าหน้าปก กลางบ้านกลางเมือง มีถ้อยมีความ เจ็บท้องข้องใจ มันจักกล่าวถึงเจ้าถึงขุนบ่ไร้ ไปลั่นกระดิ่งอันท่านแขวนไว้ พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองได้ยินเรียก เมื่อถามสวนความแก่มันด้วยซื่อ
— ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง หลักที่ 1
ในสมัยสุโขทัย จากข้อความบนหลักศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแสดงให้เห็นว่าประชาชนสามารถร้องทุกข์ต่อพระมหากษัตริย์โดยตรง และพระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ไต่สวนพิจารณาคดีด้วยพระองค์เอง ยังไม่มีการตั้งองค์กรที่มีลักษณะเป็นศาลขึ้นมาตัดสินคดีโดยตรง
สมัยกรุงศรีอยุธยา
[แก้]เมื่อสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง)ทรงได้ก่อตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้น พระองค์ได้ทรงปรับปรุงระบอบการปกครองในส่วนกลางเสียใหม่โดยมีกษัตริย์เป็นศูนย์กลาง และมีเสนาบดี 4 ฝ่ายคือ ขุนเมือง ขุนวัง ขุนคลัง ขุนนา เรียกว่า "จตุสดมภ์"[2] โดยให้เสนาบดีกรมวังเป็นผู้ชำระความแทนพระมหากษัตริย์ กรมวังจึงมีหน้าที่ดูแลศาลหลวง และการแต่งตั้งยกกระบัตรไปทำหน้าที่ดูและความยุติธรรมหรือเป็นหัวหน้าศาลในหัวเมือง
วิธีการพิจารณาและพิพากษาคดีในประเทศสยามตามแบบครั้งกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ยังใช้ต่อมาในกรุงรัตนโกสินทร์จนกระทั่งตั้งกระทรวงยุติธรรมในรัชกาล ที่ ๕ เป็นวิธีแปลกที่เอาแบบอินเดียมาประสมกับแบบไทย ด้วยความฉลาดอันพึงเห็นได้ในเรื่องนี้อีกอย่างหนึ่งจึงเป็นประเพณีที่ไม่มีเหมือนในประเทศอื่น คือใช้บุคคล ๒ จำพวกเป็นพนักงานตุลาการ จำพวกหนึ่งเป็นพราหมณ์ชาวต่างประเทศซึ่งเชี่ยวชาญทางนิติศาสตร์ เรียกว่า ลูกขุน ณ ศาลหลวง มี ๑๒ คน หัวหน้าเป็นพระมหาราชครูปุโรหิตคน ๑ พระมหาราชครูมหิธรคน ๑ ถือศักดินาเท่าเจ้าพระยา หน้าที่ของลูกขุน ณ ศาลหลวงสำหรับชี้บทกฎหมายแต่จะบังคับบัญชาอย่างใดไม่ได้ อำนาจการบังคับบัญชาทุกอย่างอยู่กับเจ้าพนักงานที่เป็นไทย...
— สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ[3]
ต่อมา ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการปรับปรุงระบบการปกครองขึ้นอีกครั้งหนึ่งมีการจัดตั้งกรมขึ้นสองกรม ได้แก่ กรมมหาดไทย ซึ่งดูแลกิจการพลเรือน โดยมีสมุหนายกเป็นอัครเสนาบดีดูแล และกรมกลาโหม ซึ่งดูแลกิจการทหาร โดยมีสมุหพระกลาโหมดูแล จตุสดมภ์นั้นให้มาขึ้นกับกรมมหาดไทยแล้วมีการเปลี่ยนชื่อและเพิ่มหน้าที่ โดยเฉพาะการขยายศาลไปทุกกรม ทำหน้าที่ตัดสินคดีความที่เกี่ยวข้องกับกรมของตน เช่น ศาลนครบาลขึ้นกับกรมพระนครบาล(กรมเมือง) ทำหน้าที่ชำระความคดีโจรผู้ร้าย ศาลความอาญา ศาลความแพ่งขึ้นกับกรมธรรมาธิบดี(กรมวัง) ชำระความคดีอาญาและคดีความแพ่งทั้งปวง ศาลการกระทรวง ขึ้นอยู่กับกรมอื่น ๆ ชำระคดีที่อยู่ในหน้าที่ของกรมนั้น ๆ
การพิจารณาและพิพากษาคดีในสมัยกรุงศรีอยุธยาแบ่งเป็นหลายหน้าที่ให้หลายหน่วยงานทำงานร่วมกัน เริ่มจากกรมรับฟ้อง ลูกขุน ตระลาการ ผู้ปรับ กล่าวคือ กรมรับฟ้อง เป็นกรมต่างหาก มีหน้าที่รับฟ้องจากผู้เดือดร้อนทางอรรถคดี กรมรับฟ้องนำฟ้องเสนอลูกขุนที่เป็นกรมต่างหาก เมื่อลูกขุนตรวจฟ้องแล้ว กรมรับฟ้องก็จะส่งฟ้องไปยังศาลต่าง ๆ ที่แยกย้ายกันสังกัดกระทรวงกรมต่าง ๆ ศาลใดศาลหนึ่งแล้วแต่คดีความนั้นจะอยู่ในอำนาจศาลใด เช่น ศาลกรมวัง ศาลกรมนา เป็นต้น แต่ละศาลจะมีตระลาการที่จะพิจารณาไต่สวนอรรถคดีเป็นของตนเอง โดยมีลูกขุนและผู้ปรับซึ่งอยู่ในกรมอื่นต่างหากทำหน้าที่ชี้ขาดและปรับสินไหมพินัยร่วมกันอยู่
ในสมัยพระเจ้าทรงธรรมได้มีการตรากฎหมายวิธีสบัญญัติเกี่ยวกับพระธรรมนูญศาลยุติธรรมขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2165 ซึ่งในกฎหมายตราสามดวงเรียกกฎหมายดังกล่าวว่า “พระธรรมนูญ” จากกฎหมายฉบับนี้ทำให้ทราบได้ว่า สมัยกรุงศรีอยุธยาโดยเฉพาะอย่างยิ่งนับแต่สมัยพระเจ้าทรงธรรมเป็นต้นมา มีศาลที่พิจารณาอรรถคดีต่าง ๆ กัน 14 ประเภท ดังนี้
- ศาลความอุทธรณ์หรือศาลหลวง พิจารณาคดีเกี่ยวกับตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำมิชอบในคดี เช่น ฟ้องว่าตระลาการเป็นใจกับคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทำชู้กับคู่ความ เจ้าหน้าที่ในศาลรับสินบนหรือฟ้องว่าพยานเบิกความเท็จ
- ศาลอาชญาราษฎร์ หรือศาลราษฎร์ พิจารณาความอาชญาประเภทข่มเหง รังแกกัน เช่น เกาะกุมคุมขังบุคคลโดยมิชอบ บังคับเอาทรัพย์สินของผู้อื่นมาเป็นของตน
- ศาลอาชญาจักร พิจารณาคดีว่าความแทนกัน เช่น อ้างว่าเป็นญาติพี่น้องแล้ว ว่าความแทนกัน หรือแต่งสำนวนให้ผู้อื่นฟ้องร้อง เป็นต้น หรือพิจารณาคดียุยงให้เขาเป็นความกัน
- ศาลความนครบาล หรือกระทรวงนครบาล พิจารณาความนครบาล เช่น ปล้น ฆ่า ยาแฝดยาเมาถึงตาย ทำแท้งถึงตายเป็นต้น
- ศาลแพ่งวัง พิจารณาคดีด่าสบประมาท แทะโลม ล้วงแย่งเมียและลูกสาวผู้อื่น ข่มขืนมิได้ถึงชำเรา ทุบถองตบตีด้วยไม้หรือมือไม่ถึงสาหัส กู้หนี้ยืมสิน ผัวเมียหย่ากัน ผัวเมียลักทรัพย์กัน พ่อแม่พี่น้องลูกหลานลักทรัพย์กัน บุกรุกที่ดินเรือกสวน รับสิ่งของฝากเช่าจำนำ ถ่มน้ำลายรดหัวผู้อื่น ทำชู้หรือข่มขืน กอดจูบเมียหรือลูกหลานผู้อื่นถึงชำเรา
- ศาลแพ่งกลาง พิจารณาความแพ่งที่จำเลยเป็นสมนอกและเป็นคดีที่กล่าวหา ในสถานเบา เช่น ด่าสบประมาท แทะโลม ข่มขืนมิได้ถึงชำเรา ทุบถองตบตีด้วยไม้หรือมือไม่ถึงสาหัส กู้หนี้ยืมสิน
- ศาลแพ่งเกษม พิจารณาความแพ่งที่จำเลยเป็นสมนอกและเป็นคดีที่กล่าวหา ในสถานหนัก เช่น บุกรุกที่ดินเรือกสวน ทำชู้หรือข่มขืนกอดจูบเมียหรือลูกหลานผู้อื่นถึงชำเรา
- ศาลกรมมรฎก หรือกระทรวงมรฎก พิจารณาความมรดกของผู้มีบรรดาศักดิ์ ตั้งแต่ ๔๐๐ ขึ้นไป
- ศาลความต่างประเทศ หรือกระทรวงกรมท่ากลาง พิจารณาความระหว่างชาว ไทยกับชาวต่างประเทศหรือระหว่างชาวต่างประเทศด้วยกัน
- ศาลกรมนา หรือกระทรวงกรมนา พิจารณาความโภชากร คือ อรรถคดี เกี่ยวกับวัวควาย บุกรุกที่นา วางเพลิงเผาต้นข้าว ขโมยข้าว
- ศาลกรมพระคลัง หรือ ศาลคลังมหาสมบัติ พิจารณาความเกี่ยวกับพระ ราชทรัพย์ เช่น กู้หนี้ยืมทรัพย์สินในท้องพระคลังคดีเกี่ยวกับอากรขนอนตลาด
- ศาลกระทรวงธรรมการ พิจารณาความพระภิกษุสามเณร เช่น ผิดศีล ผิด วินัยร้ายแรง เช่น เสพเมถุนธรรม
- ศาลความสังกัด หรือศาลกระทรวงสัสดี พิจารณาความพิพาทเกี่ยวกับหมู่ หมายของบ่าวไพร่ การปันหมู่
- ศาลความเวทมนตร์ หรือศาลกระทรวงแพทยา พิจารณาความกล่าวหาว่า เป็นกระสือกระหัง ทำเวทมนตร์อาคม ใส่ยาว่าน ทำเสน่ห์ยาแฝดยาเมา รีดลูก โดยผู้เสียหายไม่ถึงตาย หรือคดีพราหมณ์โยคีเป็นโจทก์จำเลยหาความกัน เป็นต้น ถ้าความเกินในหัวเมืองขุนหมื่นกรมแพทยาหัวเมืองเป็นผู้พิจารณา
ตามระบบการศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาถือว่าเมื่อมีคำพิพากษาของศาลแล้ว คดีเป็นอันเสร็จเด็ดขาดเลย ไม่มีการฟ้องร้องระหว่างคู่ความเดิมในศาลชั้นสูงอีก ยกเว้นกรณีคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเห็นว่าตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานซึ่งเกี่ยวข้องกับคดีของตนกระทำมิชอบหรือไม่ให้ความยุติธรรมแก่ตนก็อาจฟ้องร้องกล่าวหาตระลาการ ผู้ถามความ ผู้ถือสำนวน พยานนั้น ๆ ต่อศาลหลวง คดีในลักษณะเช่นนี้ในสมัยกรุงศรีอยุธยานับว่าเป็นความอุทธรณ์ และศาลหลวงก็คือศาลอุทธรณ์ในสมัยนั้น ส่วนศาลฎีกานั้นยังไม่มี แต่อาจมีราษฎรทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาต่อพระมหากษัตริย์บ้าง
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์
[แก้]รัชกาลที่ 1 - 4
[แก้]เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (รัชกาลที่ ๑) ทรงปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีนั้น แม้จะมีการชำระกฎหมายตราสามดวง แต่ระบบการศาลก็ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสมัยกรุงศรีอยุธยา
“ กระทรวงศาลหลวงตามฉันทกล่อมกลอง ”[4] ซึ่งแต่งขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) เมื่อปีระกา พ.ศ. ๒๓๘๐ ซึ่งรวมอยู่ในแฟ้มอธิบายกระทรวงศาลแลกระบวนพิจารณาความอย่างเก่า ทำให้ทราบได้ว่า ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีศาลประเภทต่าง ๆ ดังนี้
- ศาลอาญานอก สังกัดกลาโหม
- ศาลอุทธรณ์ สังกัดมหาดไทย
- ศาลต่างประเทศ สังกัดกรมท่า
- ศาลโภชากร สังกัดกรมนา
- ศาลนครบาล สังกัดกรมเมือง
- ศาลกรมวัง แยกเป็นศาลย่อย ๆ ในสังกัดกรมวัง ๔ ศาล คือ ศาลมรดก ศาลแพ่งวังศาลนครบาลวัง ศาลอาญาวัง
- ศาลธรรมการ
- ศาลกรมสุรัสวดี
- ศาลพระคลังมหาสมบัติ
- ศาลแพ่งเกษม
- ศาลแพ่งกลาง หรือศาลแพ่งไกรสี
ส่วนใน “กฎหมายเก่าของหมอบลัดเล” และ “พระราชบัญญัติในปัตยุบัน” ได้กล่าวถึงศาลที่ขึ้นอยู่กับกระทรวงกรมต่าง ๆ ตลอดจนอำนาจหน้าที่ในการชำระความประเภทใดไว้ ดังนี้
- ศาลธรรมดาในกรุงเทพ ฯ หมายถึงศาลที่ชำระความอาญาและความแพ่งที่ราษฎรเป็นความกันตามธรรมดา ได้แก่
- ศาลนครบาลขึ้นอยู่กับกรมเมือง มีอำนาจเฉพาะแต่คดีอาญามหันตโทษ เช่น ฆ่าเจ้าของเรือนตาย เป็นชู้กับเมียผู้อื่น เป็นต้น
- ศาลกระทรวงมหาดไทย แบ่งเป็น ๓ ศาล คือ ศาลหลวง พิจารณาความอุทธรณ์ที่ตระลาการชำระความโดยมิชอบ ศาลราษฎร์ชำระความอาญาที่จำเลยเป็นตระลาการ และศาลตำรวจ ชำระคดีแปลงคารมลายมือ ขี้ฉ้อหมอความ อ้างว่าเป็นญาติทั้งที่ไม่ได้เป็นแล้วว่าความแทนกัน
- ศาลกระทรวงกลาโหมหรือศาลอาญานอกซึ่งขึ้นอยู่กับกระทรวงกลาโหม ชำระความอาญานอก ซึ่งหมายถึงคดีที่ราษฎรซึ่งมิใช่ข้าราชการกระทำผิด
- ศาลกรมท่า หรือ ศาลกรมพระคลังราชการขึ้นอยู่กับกรมท่า มีอำนาจชำระคดีพิพาทระหว่างคนไทยกับชาวต่างประเทศ หรือชาวต่างประเทศด้วยกันเอง
- ศาลแพ่งกลาง ไม่ขึ้นอยู่กับกระทรวงกรมใดที่ทำหน้าที่ชำระความต่างหาก แต่ขึ้นอยู่กับกรมลูกขุน มีอำนาจชำระคดีวิวาททำร้ายกัน ด่าสบประมาทกัน เป็นต้น ซึ่งจำเลยเป็นสมนอก
- ศาลแพ่งเกษม ไม่ขึ้นอยู่กับกระทรวงกรมใดที่ทำหน้าที่ชำระความต่างหากแต่ขึ้นอยู่กับกรมลูกขุน มีอำนาจชำระความแพ่ง เช่น เอาทรัพย์สินของผู้อื่นไปโดยไม่บอกเจ้าของ บุกรุกที่ดินเรือกสวน เป็นต้น
- ศาลชำระความเป็นพิเศษ ได้แก่
- ศาลกรมนา มีอำนาจชำระคดีเกี่ยวกับนา ทั้งคดีแพ่งและคดีอาญา
- ศาลในกระทรวงมหาสมบัติ มีอำนาจชำระคดีภาษีและหนี้หลวง
- ศาลกรมวัง แบ่งเป็น ๔ ศาล คือ ศาลอาญาวัง ศาลนครบาลวัง ศาลแพ่งวัง ศาลมรดก ชำระความที่จำเลยเป็นสมใน
- ศาลกรมธรรมการ ชำระคดีพระสงฆ์สามเณรกระทำผิดวินัย
- ศาลกรมสรรพากรใน ชำระคดีนายระวางกำนันผู้เก็บอากรขนอนตลาดวิวาทกัน
- ศาลกรมสรรพากรนอก ชำระคดีเสนากำนันเบียดบังอากรขนอนตลาด
- ศาลกรมสัสดี หรือศาลกรมพระสุรัสวดี ชำระคดีเกี่ยวกับการสังกัดหมวดหมู่ของไพร่หลวงและไพร่สม ตลอดจนการปันหมู่
- ศาลราชตระกูล ชำระคดีที่พระบรมวงศานุวงศ์เป็นโจทก์หรือจำเลยทุกชนิด ยกเว้นเรื่องที่ถึงแก่ชีวิตเท่านั้น
นอกจากนี้ยังมีศาลพิเศษที่พระมหากษัตริย์ทรงตั้งขึ้นเมื่อใดก็ได้ตามความเหมาะสมเพื่อชำระความพิเศษบางคดีซึ่งทรงเห็นว่าศาลธรรมดาที่มีอยู่ชำระไม่ได้หรือชำระได้ยาก ศาลดังกล่าวเรียกว่า “ศาลรับสั่ง” เป็นศาลที่ขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริย์ ตัวอย่างเช่น ศาลรับสั่งสำหรับชำระคนในบังคับสยามที่ต้องหาว่ากระทำความร้ายผิดกฎหมายที่ทุ่งเชียงคำและที่แก่งเจ๊กเมืองคำมวญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ และตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติที่ตราขึ้นเมื่อ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) ตามสัญญาที่ไทยทำกับฝรั่งเศส เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม ร.ศ. ๑๑๒ เป็นต้น
ส่วนในหัวเมืองต่างๆ ก็มีศาลเมืองต่างหากออกไปจากศาลส่วนกลางในกรุงเทพฯ ศาลเมืองเหล่านี้รับผิดชอบโดยข้าราชการในหัวเมืองนั้น ๆ ศาลในหัวเมืองฝ่ายเหนือขึ้นอยู่กับกระทรวงมหาดไทย ศาลในหัวเมืองฝ่ายใต้ขึ้นอยู่กับกระทรวงกลาโหม นอกจากนี้ศาลหัวเมืองบางแห่งขึ้นอยู่กับกรมท่า ศาลเมืองเหล่านี้มีอำนาจพิจารณาทั้งความแพ่งและความอาชญา แต่ในคดีความอุกฉกรรจ์นั้นศาลส่วนกลางยังมีอำนาจควบคุมได้ ดังจะเห็นได้จากกระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหมและกรมท่ายังมีศาลในกรุงเทพฯ ต่อเนื่องกับศาลในหัวเมืองด้วย กล่าวคือรับความที่ศาลในหัวเมืองส่งขึ้นมา ่
การปฏิรูปศาลในรัชกาลที่ 5
[แก้]ต่อมา เกิดวิกฤตทางการศาลในยุคพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เกิดจากสาเหตุสำคัญ[5] คือ
- ความไม่เหมาะสมของระบบการศาลเดิม : ระบบศาลที่มีศาลแยกย้ายกันอยู่ตามกระทรวงกรมต่างๆ มากมายและระบบการดำเนินกระบวนการพิจารณาและ พิพากษาคดีที่ต้องทำงานร่วมกันหลายหน่วยงานจึงทำให้การพิจารณาคดีเกิดความล่าช้าสับสน และยังก่อให้เกิดปัญหาเรื่องอำนาจศาล
- ความไม่เหมาะสมของวิธีพิจารณาความแบบเดิม : วิธีพิจารณาและพิพากษาคดีล้าสมัยใช้วิธีโบราณ เช่น การทรมานให้รับสารภาพ และการลงโทษที่รุนแรงและทารุณจนขาดความเหมาะสมและไม่เป็นธรรม คดีเกิดความล่าช้า และจำนวนคดีความก็เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
- ความบีบคั้นจากต่างประเทศในด้านการศาล : เนื่องจากชาวต่างประเทศมีสิทธิสภาพนอกอาณาเขตในประเทศ ซึ่งเป็นปัญหาในการ ปกครองประเทศเป็นอันมาก เพราะ กงสุลต่างประเทศถือโอกาสตีความสนธิสัญญา และไม่เคารพ ยำเกรง ต่อกฎหมายและการศาลไทย
ประเทศไทยจึงต้องปฏิรูประบบกฎหมายและการศาลไทยใหม่อย่างเร่งด่วน ดังนั้น เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2434 (รศ. 110) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมศาลที่กระจัดกระจายตามกระทรวงต่างๆ เข้ามาไว้ในกระทรวงยุติธรรม ให้มีเสนาบดีเป็นประธาน เพื่อที่จะจัดวางรูปแบบศาลและกำหนดวิธีพิจารณาคดีขึ้นใหม่ โดยมีกรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฎ์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมคนแรก ได้ทรงวางระเบียบศาลตามแบบใหม่ ซึ่งเดิมตามประกาศจัดตั้งกระทรวงยุติธรรมมีศาลทั้งหมด 16 ศาล ให้รวมมาเป็นศาลสถิตย์ยุติธรรมให้เหลือเพียง 7 ศาล คือ
- ศาลฎีกา เรียกเป็น ศาลอุทธรณ์คดีหลวง
- ศาลอุทธรณ์มหาดไทย เรียกเป็น อุทธรณ์คดีราษฎร์
- ศาลนครบาล กับศาลอาญานอก รวมเรียกว่า ศาลพระราชอาญา
- ศาลแพ่งเกษม ศาลกรมวัง ศาลกรมนา รวมเรียกว่า ศาลแพ่งเกษม
- ศาลแพ่งกลาง ศาลกรมท่ากลาง ศาลกรมท่าซ้าย ศาลกรมท่าขวา ศาลธรรมการ และ ศาลราชตระกูล รวมเรียกว่า ศาลแพ่งกลาง
- ศาลสรรพากร ศาลมรฎก รวมเรียกว่า ศาลสรรพากร
- ศาลต่างประเทศ คงไว้ตามเดิม
ต่อมาปี พ.ศ. 2437 (ร.ศ.115) พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ทรงมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการปฏิรูปการศาล เช่น ทรงแก้ปัญหาศาลกงสุลต่างชาติ โดยการจ้างชาวต่างชาติมาเป็นผู้พิพากษา เป็นเหตุให้ผู้พิพากษาศาลไทยเกิดความกระตือรือร้นเร่งศึกษากฎหมายไทยและต่างประเทศ จนทำให้ศาลไทยมีความเชื่อถือมากขึ้นและเป็นที่ยอมรับของชาวต่างชาติจนยกเลิกศาลกงสุลยอมให้คนชาติตัวเองมาขึ้นศาลไทย พระองค์ยังขอพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตให้ศาลในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถกำหนดโทษเองได้ เนื่องจากในสมัยนั้นเมื่อศาลกำหนดโทษจำคุกผู้ต้องหาแล้ว ต้องให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดเวลาให้อีกชั้นหนึ่ง ช่วยลดความล่าช้าในวงการศาล ทรงปรับปรุงเงินเดือนผู้พิพากษาให้เหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่และพระราชกรณียกิจที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือในปี พ.ศ. 2440 ได้ทรงจัดตั้งโรงเรียนกฎหมายขึ้น ถือเป็นการผลิตนักกฎหมายที่มีคุณภาพให้สังคมเป็นอย่างมาก
ในปี พ.ศ. 2439 (รศ. 117) ได้รวบรวมศาลหัวเมืองต่าง ๆ ตั้งเป็นศาลมณฑลสังกัดกระทรวงยุติธรรม
ในปี พ.ศ. 2451 (รศ. 127) ประกาศให้ใช้พระธรรมนูญศาลยุติธรรม ให้แบ่งเป็น ศาลฎีการับผิดชอบต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว และให้มีศาลขึ้นอยู่ในกระทรวงยุติธรรม 2 ประเภท คือ ศาลสถิตย์ยุติธรรมกรุงเทพฯ ได้แก่ ศาลอุทธรณ์ ศาลพระราชอาญา ศาลแพ่ง ศาลต่างประเทศ และศาลโปริสภา กับศาลหัวเมือง ลักษณะจึงกลายเป็นว่า มีศาลของเมืองหลวง, ศาลหัวเมืองต่างจังหวัด และศาลสูงสุดคือศาลฎีกา
ต่อมาได้มีประกาศจัดระเบียบราชการกระทรวงยุติธรรม ลงวันที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2455 แยกหน้าที่ ราชการกระทรวงยุติธรรมเป็นธุรการส่วนหนึ่งและฝ่ายตุลาการอีกส่วนหนึ่งและยกศาลฎีกามารวมอยู่ในกระทรวงยุติธรรม และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งอธิบดีศาลฎีกาเป็นประธานในแผนกตุลาการ โดยกรมหลวงพิชิตปรีชากร ได้ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นอธิบดีศาลฎีกาคนแรกในส่วนระเบียบราชการนั้น ให้เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม มีอำนาจและหน้าที่บังคับบัญชาราชการและรับผิดชอบในบรรดาราชการที่เป็นส่วนธุรการทั่วไป แต่ในส่วนที่เป็นตุลาการ ให้เสนาบดีเป็นที่ปรึกษาหารือและฟังความเห็นอธิบดีศาลฎีกาแล้ววินิจฉัยไปตามที่ตกลงกัน ถ้ามีความเห็นแตกต่างกัน ให้เสนาบดีพร้อมอธิบดีศาลฎีกา นำความกราบบังคมทูลเรียนพระราชปฏิบัติ
ประเภท
[แก้]ศาลแพ่ง
[แก้]"ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลแพ่งธนบุรีมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น..." |
มาตรา 19 วรรค 1 พระธรรมนูญศาลยุติธรรม |
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น ได้แก่
- ศาลแพ่ง
- ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
- ศาลแพ่งธนบุรี
- ศาลแพ่งมีนบุรี
- ศาลแพ่งตลิ่งชัน
- ศาลแพ่งพระโขนง
ศาลแพ่ง
[แก้]มีเขตอำนาจเหนือคดีแพ่งที่เกิดขึ้นในเขตดอนเมือง เขตดุสิต เขตสายไหม (เฉพาะแขวงคลองถนน) เขตพญาไท เขตหลักสี่ เขตดินแดง เขตบางเขน (เฉพาะแขวงอนุสาวรีย์) เขตห้วยขวาง เขตบางซื่อ เขตวังทองหลาง เขตจตุจักร เขตบางกะปิ เขตลาดพร้าว (เฉพาะแขวงลาดพร้าว) เขตราชเทวี เขตบึงกุ่ม และเขตพระนคร
ปัจจุบัน ศาลแพ่งตั้งอยู่ถนนรัชดาภิเษก แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
[แก้]จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้ และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532[6] โดยมีเขตอำนาจเหนือคดีแพ่งที่เกิดขึ้นในเขตบางรัก เขตสาทร เขตยานนาวา เขตบางคอแหลม เขตปทุมวัน เขตสัมพันธวงศ์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย เขตคลองเตย และเขตวัฒนา
ปัจจุบัน ศาลแพ่งกรุงเทพใต้ตั้งอยู่ที่ซอยเจริญกรุง 63 ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพมหานคร[7]
ศาลแพ่งธนบุรี
[แก้]จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520[8] โดยมีเขตอำนาจเหนือคดีแพ่งที่เกิดขึ้นในเขตจอมทอง เขตบางขุนเทียน เขตบางบอน เขตราษฎร์บูรณะ เขตทุ่งครุ เขตคลองสาน เขตธนบุรี เขตบางแค และเขตภาษีเจริญ
ปัจจุบัน ศาลแพ่งธนบุรีตั้งอยู่ที่ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร[9]
ศาลอาญา
[แก้]มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมอื่น รวมทั้งคดีอื่นใดที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจของศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดีอาญา แล้วแต่กรณี ได้แก่
- ศาลอาญา
- ศาลอาญากรุงเทพใต้
- ศาลอาญาธนบุรี
- ศาลอาญามีนบุรี
- ศาลอาญาตลิ่งชัน
- ศาลอาญาพระโขนง
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ศาลจังหวัด
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวง มีเขตอำนาจตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลนั้น ๆ
ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ศาลแขวง
มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีและมีอำนาจทำการไต่สวน หรือมีคำสั่งใด ๆ ซึ่งผู้พิพากษาคนเดียวมีอำนาจตามที่กฎหมายกำหนดไว้
ศาลชำนัญพิเศษ
[แก้]ศาลชำนัญพิเศษ คือศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเฉพาะเรื่องเป็นพิเศษ เพื่อให้เกิดความยุติธรรมแก่ทั้งสองฝ่ายมากที่สุด ปัจจุบัน ศาลชำนัญพิเศษ มีดังนี้
- ศาลเยาวชนและครอบครัว
- ศาลแรงงาน
- ศาลภาษีอากร
- ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ
- ศาลล้มละลาย
- ศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบ
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิซอร์ซมีงานที่เกี่ยวข้องกับ พระธรรมนูญศาลยุติธรรม
อ้างอิง
[แก้]- ↑ สมลักษณ์ จัดกระบวนพล. ระบบศาลและหลักทั่วไปว่าด้วยการพิจารณาคดี. 2555,บัม หน้า 57
- ↑ บุญเกียรติ การะเวกพันธุ์ และคณะ. จตุสดมภ์. http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%AA%E0%B8%94%E0%B8%A1%E0%B8%A0%E0%B9%8C#cite_note-0 เก็บถาวร 2018-09-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ ศาลในสมัยกรุงศรีอยุธยา. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=79[ลิงก์เสีย]
- ↑ ศาลในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นก่อนการปฏิรูปการศาลไทย. http://www.supremecourt.or.th/webportal/supremecourt/content.php?content=component/content/view.php&id=81[ลิงก์เสีย]
- ↑ ประวัติกระทรวงยุติธรรม. http://www.moj.go.th/th/home/history เก็บถาวร 2015-03-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ "พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งกรุงเทพใต้และศาลอาญากรุงเทพใต้ พ.ศ. 2532". ราชกิจจานุเบกษา. 106 (พิเศษ 127): 5. 24 พฤศจิกายน 2532.[ลิงก์เสีย]
- ↑ "พระราชกฤษฎีกา กำหนดที่ตั้งและวันเปิดทำการศาลแพ่งกรุงเทพใต้และศาลอาญากรุงเทพใต้ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2550". ราชกิจจานุเบกษา. 124 (27 ก): 35. 18 มิถุนายน 2550.
- ↑ "พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2520". ราชกิจจานุเบกษา. 95 (พิเศษ 17): 1. 9 มีนาคม 2520.
- ↑ "พระราชกฤษฎีกา กำหนดเขตที่ตั้งและวันเปิดทำการศาลแพ่งธนบุรีและศาลอาญาธนบุรี พ.ศ. 2524". ราชกิจจานุเบกษา. 98 (พิเศษ 122): 13. 27 กรกฎาคม 2524.[ลิงก์เสีย]