ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาไทดั้งเดิม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
คำศัพท์: เก็บกวาด
 
(ไม่แสดง 31 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 12 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{รีไรต์}}
{{รีไรต์}}
'''ภาษาไทดั้งเดิม'''<ref>ตามที่ใช้ในนิพนธ์ต่าง ๆ ของสาขาภาษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของไทย เช่น [http://www.lc.mahidol.ac.th/lcjournal/Documents/JLC30-1-Somsonge-BR.pdf]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ({{lang-en|Proto-Tai language}}) เป็น[[ภาษาดั้งเดิม]] (proto-language) หรือภาษาบรรพบุรุษที่ได้รับ[[การสืบสร้าง (ภาษาศาสตร์)|การสืบสร้าง]]ขึ้นของ[[กลุ่มภาษาไท]]ทั้งมวล ซึ่งได้แก่ [[ภาษาไทย]] [[ภาษาลาว]] [[ภาษาคำเมือง]] [[ภาษาไทใหญ่]] [[ภาษาไทลื้อ]] [[ภาษาไทดำ]] เป็นต้น ทั้งนี้ ภาษาไทดั้งเดิมมิได้ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารใด ๆ ที่หลงเหลืออยู่โดยตรง แต่ได้รับการสืบสร้างตาม[[ระเบียบวิธีเปรียบเทียบ]] (comparative method) โดยนักภาษาศาสตร์[[หลี่ ฟางกุ้ย]] ใน พ.ศ. 2520<ref name="Li1977">Li, Fang-Kuei. (1977). ''A handbook of comparative Tai''. Manoa: University Press of Hawaii.</ref> และพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ ใน พ.ศ. 2552<ref name="Pittayaporn2009a">Pittayaporn, Pittayawat. (2009a). [https://ecommons.cornell.edu/bitstream/handle/1813/13855/Pittayaporn,%20Pittayawat.pdf ''The Phonology of Proto-Tai (Doctoral dissertation)''.] Department of Linguistics, Cornell University.</ref><ref>{{cite book|title=Comparative Kadai: Linguistic Studies Beyond Tai|first1=Kenneth Lee |last1=Pike|first2= Evelyn G.|last2=Pike|publisher=Summer Institute of Linguistics, 1977|isbn=0883120666|pages=16}}</ref>
'''ภาษาไทดั้งเดิม'''<ref>ตามที่ใช้ในนิพนธ์ต่าง ๆ ของสาขาภาษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของไทย เช่น [http://www.lc.mahidol.ac.th/lcjournal/Documents/JLC30-1-Somsonge-BR.pdf]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}</ref> ({{lang-en|Proto-Tai language}}) เป็น[[ภาษาดั้งเดิม]] (proto-language) หรือภาษาบรรพบุรุษที่ได้รับ[[การสืบสร้าง (ภาษาศาสตร์)|การสืบสร้าง]]ขึ้นของ[[กลุ่มภาษาไท]]ทั้งมวล ซึ่งได้แก่ [[ภาษาไทย]] [[ภาษาลาว]] [[ภาษาคำเมือง]] [[ภาษาไทใหญ่]] [[ภาษาไทลื้อ]] [[ภาษาไทดำ]] เป็นต้น ทั้งนี้ ภาษาไทดั้งเดิมมิได้ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารใด ๆ ที่หลงเหลืออยู่โดยตรง แต่ได้รับการสืบสร้างตาม[[ระเบียบวิธีเปรียบเทียบ]] (comparative method) โดยนักภาษาศาสตร์[[หลี่ ฟางกุ้ย]] ใน พ.ศ. 2520<ref name="Li1977">Li, Fang-Kuei. (1977). ''A handbook of comparative Tai''. Manoa: University Press of Hawaii.</ref> และพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ ใน พ.ศ. 2552<ref name="Pittayaporn2009a">Pittayaporn, Pittayawat [พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]. (2009a). [https://ecommons.cornell.edu/bitstream/handle/1813/13855/Pittayaporn,%20Pittayawat.pdf ''The Phonology of Proto-Tai (Doctoral dissertation)''.] Department of Linguistics, Cornell University.</ref><ref>{{cite book|title=Comparative Kadai: Linguistic Studies Beyond Tai|first1=Kenneth Lee |last1=Pike|first2= Evelyn G.|last2=Pike|publisher=Summer Institute of Linguistics, 1977|isbn=0883120666|pages=16}}</ref>


==ระบบเสียง==
==ระบบเสียง==
ภาษาไทดั้งเดิมมีหน่วยเสียงพยัญชนะที่หลากหลายกว่าภาษาตระกูลไทในปัจจุบัน แต่มีเสียงวรรณยุกต์ที่น้อยกว่าภาษาปัจจุบัน
ภาษาไทดั้งเดิมมีหน่วยเสียงพยัญชนะที่หลากหลายกว่าภาษาตระกูลไทในปัจจุบัน แต่มีเสียงวรรณยุกต์ที่น้อยกว่าภาษาปัจจุบัน

===พยัญชนะเดี่ยวฯ===
===พยัญชนะเดี่ยว===
ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบพยัญชนะของภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของ [[หลี่ ฟางกุ้ย]] ในหนังสือ ''คู่มือภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบตระกูลไท'' (''A Handbook of Comparative Tai''). พยัญชนะในฐานเพดานแข็ง ซึ่งระบุในหนังสือดังกล่าวด้วยสัญลักษณ์ [č, čh, ž] ถูกจัดเป็นหยัญชนะกักเสียดแทรก (affricate consonant) ในที่นี้จะใช้สัญลักษณ์ [{{IPA|tɕ}}, {{IPA|tɕʰ}} and {{IPA|dʑ}}] ตามลำดับ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบ[[สัทอักษรสากล]]
ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบพยัญชนะของภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของ [[หลี่ ฟางกุ้ย]] ในหนังสือ ''คู่มือภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบตระกูลไท'' (''A Handbook of Comparative Tai''). พยัญชนะในฐานเพดานแข็ง ซึ่งระบุในหนังสือดังกล่าวด้วยสัญลักษณ์ [č, čh, ž] ถูกจัดเป็นหยัญชนะกักเสียดแทรก (affricate consonant) ในที่นี้จะใช้สัญลักษณ์ [{{IPA|tɕ}}, {{IPA|tɕʰ}} and {{IPA|dʑ}}] ตามลำดับ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบ[[สัทอักษรสากล]]


บรรทัด 11: บรรทัด 12:
|-
|-
! colspan="2"|
! colspan="2"|
! colspan="2" | [[Labial consonant|ริมฝีปาก]] (Labial)
! colspan="2" | [[เสียงพยัญชนะฐานริมฝีปาก|ริมฝีปาก]] (Labial)
! colspan="2" | [[Alveolar consonant|ปุ่มเหงือก]] (Alveolar)
! colspan="2" | [[เสียงพยัญชนะฐานปุ่มเหงือก|ปุ่มเหงือก]] (Alveolar)
! colspan="2" | [[Palatal consonant|เพดานแข็ง]] (Palatal)
! colspan="2" | [[เสียงพยัญชนะฐานเพดานแข็ง|เพดานแข็ง]] (Palatal)
! colspan="2" | [[Velar consonant|เพดานอ่อน]] (Velar)
! colspan="2" | [[เสียงพยัญชนะฐานเพดานอ่อน|เพดานอ่อน]] (Velar)
! colspan="2" | [[Glottal consonant|เส้นเสียง]] (Glottal)
! colspan="2" | [[เสียงพยัญชนะฐานเส้นเสียง|เส้นเสียง]] (Glottal)
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! rowspan="4" | [[Stop consonant|กัก]] (Stop)
! rowspan="4" | [[เสียงพยัญชนะหยุด|หยุด]] (Stop)
!<small>[[Voice (phonetics)|ไม่ก้อง]] ไม่พ่นลม (Voiceless unaspirated)</small>
![[ความก้อง|ไม่ก้อง]] ไม่พ่นลม (Voiceless unaspirated)
| colspan="2" | p
| colspan="2" | p
| colspan="2" | t
| colspan="2" | t
| colspan="2" | {{IPA|}}
| colspan="2" | {{IPA|t͡ɕ}}
| colspan="2" | k
| colspan="2" | k
| colspan="2" |
| colspan="2" | ʔ
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Voice (phonetics)|ไม่ก้อง]] [[aspirated consonant|พ่นลม]] (Voiceless aspirated)</small>
![[ความก้อง|ไม่ก้อง]] [[เสียงพยัญชนะพ่นลม|พ่นลม]] (Voiceless aspirated)
| colspan="2" | {{IPA|pʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|pʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|tʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|tʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|tɕʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|t͡ɕʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|kʰ}}
| colspan="2" | {{IPA|kʰ}}
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Voice (phonetics)|ก้อง]] (Voiced)</small>
![[ความก้อง|ก้อง]] (Voiced)
| colspan="2" | b
| colspan="2" | b
| colspan="2" | d
| colspan="2" | d
| colspan="2" | {{IPA|}}
| colspan="2" | {{IPA|d͡ʑ}}
| colspan="2" | ɡ
| colspan="2" | ɡ
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Glottalization|กักเส้นเสียง]] (Glottalized)</small>
![[เสียงพยัญชนะกักเส้นเสียง|กักเส้นเสียง]] (Glottalized)
| colspan="2" | ʔb
| colspan="2" | ˀb
| colspan="2" | ʔd
| colspan="2" | ˀd
| colspan="2" | ʔj
| colspan="2" | ˀj
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" | ʔ
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! rowspan="2"| [[Fricative consonant|เสียดแทรก]] (Fricative)
! rowspan="2"| [[เสียงพยัญชนะเสียดแทรก|เสียดแทรก]] (Fricative)
!<small>[[Voice (phonetics)|ไม่ก้อง]] (Voiceless)</small>
![[ความก้อง|ไม่ก้อง]] (Voiceless)
| colspan="2" | f
| colspan="2" | f
| colspan="2" | s
| colspan="2" | s
บรรทัด 54: บรรทัด 55:
| colspan="2" | h
| colspan="2" | h
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Voice (phonetics)|ก้อง]] (Voiced)</small>
![[ความก้อง|ก้อง]] (Voiced)
| colspan="2" | v
| colspan="2" | v
| colspan="2" | z
| colspan="2" | z
บรรทัด 61: บรรทัด 62:
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! rowspan="2"| [[Nasal consonant|นาสิก]] (Nasals)
! rowspan="2"| [[เสียงพยัญชนะนาสิก|นาสิก]] (Nasals)
!<small>[[Voice (phonetics)|ไม่ก้อง]] (Voiceless)</small>
![[ความก้อง|ไม่ก้อง]] (Voiceless)
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>m}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰm}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>n}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰn}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>ɲ}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰɲ}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>ŋ}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰŋ}}
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Voice (phonetics)|ก้อง]] (Voiced)</small>
![[ความก้อง|ก้อง]] (Voiced)
| colspan="2" | m
| colspan="2" | m
| colspan="2" | n
| colspan="2" | n
บรรทัด 76: บรรทัด 77:
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! rowspan="2"| [[Liquid consonant|เสียงไหล]] (Liquids)<br/>และ [[พยัญชนะกึ่งสระ|กึ่งสระ]] (semivowel)
! rowspan="2"| [[เสียงพยัญชนะไหล|ไหล]] (Liquids) และ [[พยัญชนะกึ่งสระ|กึ่งสระ]] (semivowel)
!<small>[[Voice (phonetics)|ไม่ก้อง]] (Voiceless)</small>
![[ความก้อง|ไม่ก้อง]] (Voiceless)
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>w}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰw}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>r}}, {{IPA|<sup>h</sup>l}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰr}}, {{IPA|ʰl}}
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>[[Voice (phonetics)|ก้อง]] (Voiced)</small>
![[ความก้อง|ก้อง]] (Voiced)
| colspan="2" | w
| colspan="2" | w
| colspan="2" | r, l
| colspan="2" | r, l
บรรทัด 92: บรรทัด 93:
|}
|}


ระบบเสียงดังกล่าวนี้ได้รับการสืบสร้างใหม่โดย [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] ในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหลายประการด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเป็นเพียงการตีความที่แตกต่างกันเท่านั้น ได้แก่ พยัญชนะฐานเพดานแข็งถูกจัดใหม่ให้เป็นพยัญชนะกัก (stop) แทนที่จะเป็นพยัญชนะกักเสียดแทรก (affricate) ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับพยัญชนะอื่นๆ ภายในระบบเสียงภาษาไทดั้งเดิม และสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสัทศาสตร์ได้โดยใช้หลักเดียวกันกับพยัญชนะกักตัวอื่นๆ (ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าเสียงพยัญชนะเหล่านี้ไม่ได้มีลักษณะของการกักเสียดแทรก) การตีความอีกอย่างที่ต่างกันคือ พยัญชนะที่มีเสียงกักเส้นเสียงนำมาก่อน (pre-glottalized consonant) [ʔb, ʔd] ถูกตีความใหม่ให้เป็นเสียงกักเส้นเสียงลมเข้า (implosive consonant) [ɓ, ɗ] แทน อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง ได้แก่
ระบบเสียงดังกล่าวนี้ได้รับการสืบสร้างใหม่โดย [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] ในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหลายประการด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเป็นเพียงการตีความที่แตกต่างกันเท่านั้น ได้แก่ พยัญชนะฐานเพดานแข็งถูกจัดใหม่ให้เป็นพยัญชนะกัก (stop) แทนที่จะเป็น[[เสียงพยัญชนะกักเสียดแทรก|พยัญชนะกักเสียดแทรก]] (affricate) ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับพยัญชนะอื่น ๆ ภายในระบบเสียงภาษาไทดั้งเดิม และสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสัทศาสตร์ได้โดยใช้หลักเดียวกันกับพยัญชนะกักตัวอื่น ๆ (ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าเสียงพยัญชนะเหล่านี้ไม่ได้มีลักษณะของการกักเสียดแทรก) การตีความอีกอย่างที่ต่างกันคือ พยัญชนะที่มีเสียงกักเส้นเสียงนำมาก่อน (pre-glottalized consonant) [ˀb, ˀd] ถูกตีความใหม่ให้เป็น[[เสียงกักเส้นเสียงลมเข้า]] (implosive consonant) [ɓ, ɗ] แทน อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง ได้แก่
#พยัญชนะกักพ่นลมถูกตัดออก โดยจัดให้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใหม่ในภายหลัง หลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกเป็นสาขาย่อยต่างๆ
#พยัญชนะกักพ่นลมถูกตัดออก โดยจัดให้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใหม่ในภายหลัง หลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ
#ตัดพยัญชนะเสียดแทรกริมฝีปาก (/f/ และ /v/) ออก โดยจัดให้เป็นการแปรเสียงที่เกิดขึ้นในภายหลังแทน
#ตัดพยัญชนะเสียดแทรกริมฝีปาก (/f/ และ /v/) ออก โดยจัดให้เป็นการแปรเสียงที่เกิดขึ้นในภายหลังแทน
#เพิ่มพยัญชนะฐานลิ้นไก่ (uvular consonant) ออกมาต่างหาก (*/q/, */ɢ/, and */χ/) โดยเป็นหน่วยเสียงแยกจากพยัญชนะฐานเพดานอ่อน (velar) โดยมีที่มาจากความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะในกลุ่ม /kʰ/, /x/ และ /h/ ในภาษาภายในตระกูลไทภาษาต่างๆ ในปัจจุบัน โดยเฉพาะใน[[ภาษาพวน]] และ[[ภาษาผู้ไทกะป๋อง]] ความแตกต่างของเสียง /kʰ/ และ /x/ สามารถสืบสร้างได้จาก[[ภาษาไทขาว]] อย่างไรก็ตาม พบว่าคำที่มีเสียงพยัญชนะต้น /x/ ใน[[ภาษาไทขาว]] สอดคล้อง (มีเชื้อสายร่วม) กันกับคำที่มีเสียงพยัญชนะต้นใน[[ภาษาพวน]]และ[[ภาษาผู้ไทกะป๋อง]]ได้ถึง 3 แบบ บางคำขึ้นต้นด้วยเสียง /kʰ/ ในทั้งสองภาษา, บางคำขึ้นต้นด้วย /h/ ในทั้งสองภาษา และบางคำขึ้นต้นด้วย /kʰ/ ในภาษาพวน แต่กลับเป็นเสียง /h/ ในภาษาผู้ไทกะปง แสดงว่าในภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีหน่วยเสียงในกลุ่มนี้แตกต่างกันได้ถึง 3 หน่วยเสียง ไม่ใช่มีเพียงเสียง /x/ ตามการสืบสร้างแบบเดิม ดังนั้น[[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] จึงสืบสร้างหน่วยเสียงใหม่สำหรับความสอดคล้องทั้ง 3 แบบเป็น /x/, {{IPA|/χ/}} and /q/ ตามลำดับ
#เพิ่ม[[เสียงพยัญชนะฐานลิ้นไก่]] (uvular consonant) ออกมาต่างหาก (*/q/, */ɢ/, and */χ/) โดยเป็นหน่วยเสียงแยกจากพยัญชนะฐานเพดานอ่อน (velar) โดยมีที่มาจากความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะในกลุ่ม /kʰ/, /x/ และ /h/ ในภาษาภายในตระกูลไทภาษาต่าง ๆ ในปัจจุบัน โดยเฉพาะใน[[ภาษาพวน]] และ[[ภาษาผู้ไทกะป๋อง]] ความแตกต่างของเสียง /kʰ/ และ /x/ สามารถสืบสร้างได้จาก[[ภาษาไทขาว]] อย่างไรก็ตาม พบว่าคำที่มีเสียงพยัญชนะต้น /x/ ใน[[ภาษาไทขาว]] สอดคล้อง (มีเชื้อสายร่วม) กันกับคำที่มีเสียงพยัญชนะต้นใน[[ภาษาพวน]]และ[[ภาษาผู้ไทกะป๋อง]]ได้ถึง 3 แบบ บางคำขึ้นต้นด้วยเสียง /kʰ/ ในทั้งสองภาษา, บางคำขึ้นต้นด้วย /h/ ในทั้งสองภาษา และบางคำขึ้นต้นด้วย /kʰ/ ในภาษาพวน แต่กลับเป็นเสียง /h/ ในภาษาผู้ไทกะปง แสดงว่าในภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีหน่วยเสียงในกลุ่มนี้แตกต่างกันได้ถึง 3 หน่วยเสียง ไม่ใช่มีเพียงเสียง /x/ ตามการสืบสร้างแบบเดิม ดังนั้น[[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] จึงสืบสร้างหน่วยเสียงใหม่สำหรับความสอดคล้องทั้ง 3 แบบเป็น /x/, {{IPA|/χ/}} and /q/ ตามลำดับ


ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบเสียงหยัญชนะในภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของ[[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]]
ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบเสียงหยัญชนะในภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของ[[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]]
บรรทัด 116: บรรทัด 117:
| colspan="2" | k
| colspan="2" | k
| colspan="2" | q
| colspan="2" | q
| colspan="2" |
| colspan="2" | ʔ
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
!<small>ก้อง</small>
!<small>ก้อง</small>
บรรทัด 129: บรรทัด 130:
| colspan="2" | ɓ
| colspan="2" | ɓ
| colspan="2" | ɗ
| colspan="2" | ɗ
| colspan="2" | <sup>ʔ</sup>j
| colspan="2" | ˀj
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" | ʔ
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! rowspan="2"| เสียดแทรก
! rowspan="2"| เสียดแทรก
บรรทัด 153: บรรทัด 154:
! rowspan="2"| นาสิก
! rowspan="2"| นาสิก
!<small>ไม่ก้อง</small>
!<small>ไม่ก้อง</small>
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>m}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰm}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>n}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰn}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>ɲ}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰɲ}}
| colspan="2" | {{IPA|(<sup>h</sup>ŋ)}}
| colspan="2" | {{IPA|(ʰŋ)}}
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
บรรทัด 170: บรรทัด 171:
! rowspan="2"| เสียงไหลและกึ่งสระ
! rowspan="2"| เสียงไหลและกึ่งสระ
!<small>ไม่ก้อง</small>
!<small>ไม่ก้อง</small>
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>w}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰw}}
| colspan="2" | {{IPA|<sup>h</sup>r}}, {{IPA|<sup>h</sup>l}}
| colspan="2" | {{IPA|ʰr}}, {{IPA|ʰl}}
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
| colspan="2" |
บรรทัด 220: บรรทัด 221:
|}
|}


ในเวลาต่อมามีการศึกษา[[ภาษาแสก]]เพิ่มขึ้น พบว่ามีคำที่มีเสียงพยัญชนะท้าย /-l/ อยู่ในภาษาดังกล่าว ซึ่งคำเหล่านี้ไม่ได้เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] จึงสันนิษฐานว่าภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีเสียงพยัญชนะท้าย *-l อยู่ในระบบเสียง และยังพบว่ามีการแปรเสียงพยัญชนะท้ายที่แตกต่างกันระกหว่างภาษาแสกกับภาษาไทอื่นๆ ได้แก่ คำที่ลงท้ายด้วย /-k/ บางคำในภาษาแสก กลับลงท้ายด้วย /-t/ ในภาษาไทอื่น คำเหล่านี้เดิมเคยถูกสืบสร้างให้ลงท้ายด้วย *-t ซึ่งไม่พบว่ามีเงื่อนไขใดสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงจาก *-t ไปเป็น *-k ได้ จึงได้สืบสร้างเสียงใหม่สำหรับการแปรเสียงดังกล่าวเป็น *-c แทน
ในเวลาต่อมามีการศึกษา[[ภาษาแสก]]เพิ่มขึ้น พบว่ามีคำที่มีเสียงพยัญชนะท้าย /-l/ อยู่ในภาษาดังกล่าว ซึ่งคำเหล่านี้ไม่ได้เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] จึงสันนิษฐานว่าภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีเสียงพยัญชนะท้าย *-l อยู่ในระบบเสียง และยังพบว่ามีการแปรเสียงพยัญชนะท้ายที่แตกต่างกันระกหว่างภาษาแสกกับภาษาไทอื่น ๆ ได้แก่ คำที่ลงท้ายด้วย /-k/ บางคำในภาษาแสก กลับลงท้ายด้วย /-t/ ในภาษาไทอื่น คำเหล่านี้เดิมเคยถูกสืบสร้างให้ลงท้ายด้วย *-t ซึ่งไม่พบว่ามีเงื่อนไขใดสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงจาก *-t ไปเป็น *-k ได้ จึงได้สืบสร้างเสียงใหม่สำหรับการแปรเสียงดังกล่าวเป็น *-c แทน


นอกจากนี้หน่วยเสียงพยัญชนะท้ายอีกตัวที่อาจเป็นไปได้คือ /*-ɲ/ ซึ่งยังมีหลักฐานไม่มาก แต่สังเกตได้จากการที่คำว่า กิน /kin<sup>A1</sup>/ ในภาษาไทย เทียบได้กับภาษาในสาขาไทเหนือว่า /kɯn<sup>A1</sup>/ ซึ่งเป็นไปได้ว่าแท้จริงแล้วเสียงพยัญชนะท้ายของคำนี้ในภาษาไทดั้งเดิมควรจะเป็น *-ɲ (ซึ่งสืบสร้างคำนี้ได้เป็น *kɯɲ<sup>A</sup>) ซึ่งต่อมาเกิดการเลื่อนฐานกรณ์ไปข้างหน้า (fronting) ของทั้งสระและพยัญชนะ กลายเป็น /kin<sup>A1</sup>/ ในภาษาไทย แต่เป็น /kɯn<sup>A1</sup>/ ในภาษากลุ่มไทเหนือ
นอกจากนี้หน่วยเสียงพยัญชนะท้ายอีกตัวที่อาจเป็นไปได้คือ /*-ɲ/ ซึ่งยังมีหลักฐานไม่มาก แต่สังเกตได้จากการที่คำว่า กิน /kin<sup>A1</sup>/ ในภาษาไทย เทียบได้กับภาษาในสาขาไทเหนือว่า /kɯn<sup>A1</sup>/ ซึ่งเป็นไปได้ว่าแท้จริงแล้วเสียงพยัญชนะท้ายของคำนี้ในภาษาไทดั้งเดิมควรจะเป็น *-ɲ (ซึ่งสืบสร้างคำนี้ได้เป็น *kɯɲ<sup>A</sup>) ซึ่งต่อมาเกิดการเลื่อนฐานกรณ์ไปข้างหน้า (fronting) ของทั้งสระและพยัญชนะ กลายเป็น /kin<sup>A1</sup>/ ในภาษาไทย แต่เป็น /kɯn<sup>A1</sup>/ ในภาษากลุ่มไทเหนือ
บรรทัด 279: บรรทัด 280:
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
! [[Implosive consonant|Implosive]]
! [[Implosive consonant|Implosive]]
| colspan="2" | ʔbr-, ʔbl-
| colspan="2" | ˀbr-, ˀbl-
| colspan="2" | ʔdr-, ʔdl-
| colspan="2" | ˀdr-, ˀdl-
| colspan="2" |
| colspan="2" |
|- style="text-align:center;"
|- style="text-align:center;"
บรรทัด 304: บรรทัด 305:
|}
|}


การสืบสร้างภาษาไทดั้งเดิมของหลี่ ฟางกุ้ย ยังมีปัญหาที่อธิบายไม่ได้หลายประการ หนึ่งในนั้นคือความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะต้น เช่น คำว่า (มีด)พร้า /p<sup>h</sup>ra:<sup>C2</sup>/ ซึ่งร่วมเชื้อสายกับคำว่า /t<sup>h</sup>a:<sup>C2</sup>/ ในภาษาแสกซึ่งหลี่ ฟางกุ้ย เคยสืบสร้างให้ขึ้นต้นด้วย *vr- นอกจากนี้ยังมีคำอื่นๆ [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] (2009) เห็นว่าการแปรเสียงดังกล่าวไม่สามารถอธิบายได้จากการสืบสร้างเดิม แต่จะอธิบายได้ถ้าให้ภาษาไทดั้งเดิมมีพยางค์ย่อย (sesquisyllable หรือ minor syllable) ที่นอกเหนือจากพยางหลักด้วย จากนั้นจึงอธิบายการแปรเสียงดังกล่าวได้ว่าเป็นการกร่อนของพยัญชนะควบทั้งพยางค์หลักและย่อยที่คนละตำแหน่งกัน ดังนั้นจึงแบ่งพยัญชนะควบออกได้เป็น
การสืบสร้างภาษาไทดั้งเดิมของหลี่ ฟางกุ้ย ยังมีปัญหาที่อธิบายไม่ได้หลายประการ หนึ่งในนั้นคือความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะต้น เช่น คำว่า (มีด)พร้า /p<sup>h</sup>ra:<sup>C2</sup>/ ซึ่งร่วมเชื้อสายกับคำว่า /t<sup>h</sup>a:<sup>C2</sup>/ ในภาษาแสกซึ่งหลี่ ฟางกุ้ย เคยสืบสร้างให้ขึ้นต้นด้วย *vr- นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ [[พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]] (2009) เห็นว่าการแปรเสียงดังกล่าวไม่สามารถอธิบายได้จากการสืบสร้างเดิม แต่จะอธิบายได้ถ้าให้ภาษาไทดั้งเดิมมีพยางค์ย่อย (sesquisyllable หรือ minor syllable) ที่นอกเหนือจากพยางหลักด้วย จากนั้นจึงอธิบายการแปรเสียงดังกล่าวได้ว่าเป็นการกร่อนของพยัญชนะควบทั้งพยางค์หลักและย่อยที่คนละตำแหน่งกัน ดังนั้นจึงแบ่งพยัญชนะควบออกได้เป็น


#'''ควบพยางค์เดี่ยว ([[Tautosyllabic]] clusters)''' – พิจารณาเป็นพยางค์เดียว
#'''ควบพยางค์เดี่ยว ([[Tautosyllabic]] clusters)''' – พิจารณาเป็นพยางค์เดียว
บรรทัด 384: บรรทัด 385:
;Voiced consonant + liquid/glide
;Voiced consonant + liquid/glide
* *m.l-
* *m.l-
* *C̬ .r-
* *C̬.r-
* *C̬ .l-
* *C̬.l-


;Clusters with non-initial nasals
;Clusters with non-initial nasals
* *t.n-
* *t.n-
* *C̬ .n-
* *C̬.n-
{{refend}}
{{refend}}


'''พยัญชนะควบอื่นๆ''' ได้แก่ *r.t-, *t.h-, *q.s-, *m.p-, *s.c-, *z.ɟ-, *g.r-, *m.n-; *gm̩.r-, *ɟm̩ .r-, *c.pl-, *g.lw-; etc.
'''พยัญชนะควบอื่น ๆ ''' ได้แก่ *r.t-, *t.h-, *q.s-, *m.p-, *s.c-, *z.ɟ-, *g.r-, *m.n-; *gm̩.r-, *ɟm̩ .r-, *c.pl-, *g.lw-; etc.


===สระ===
===สระ===
บรรทัด 399: บรรทัด 400:
{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:30%;"
{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:30%;"
|+ Proto-Tai vowels <br>(หลี่ 1977)
|+ Proto-Tai vowels <br>(หลี่ 1977)
!rowspan="2" | &nbsp;
!rowspan="2" |
![[Front vowel|Front]]
![[Front vowel|Front]]
!colspan=2|[[Back vowel|Back]]
!colspan=2|[[Back vowel|Back]]
บรรทัด 427: บรรทัด 428:
{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:30%;"
{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:30%;"
|+ Proto-Tai vowels <br>(Pittayaporn 2009)
|+ Proto-Tai vowels <br>(Pittayaporn 2009)
!rowspan="3" | &nbsp;
!rowspan="3" |
!colspan=2|[[Front vowel|Front]]
!colspan=2|[[Front vowel|Front]]
!colspan=4|[[Back vowel|Back]]
!colspan=4|[[Back vowel|Back]]
บรรทัด 454: บรรทัด 455:
|-
|-
![[Open vowel|Open]]
![[Open vowel|Open]]
|
|&nbsp;
|
|&nbsp;
|{{IPA|/a/}}<br/>
|{{IPA|/a/}}<br/>
|{{IPA|/aː/}}<br/>
|{{IPA|/aː/}}<br/>
|
|&nbsp;
|
|&nbsp;
|}
|}


บรรทัด 518: บรรทัด 519:
|}
|}


ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิม แท้จริงแล้วไม่ได้ต่างกันเพียงแค่ระดับเสียง (pitch) แต่ยังต่างกันที่คุณภาพของเสียง (ปกติ, ต่ำลึก, กักเส้นเสียง) และระยะเวลาของเสียงสระด้วย ลักษณะเช่นนี้ยังคงพบในภาษาตระกูลไทในปัจจุบันหลายๆ ภาษา อักขรวิธีของ[[ภาษาไทย]]ปัจจุบันยังคงแสดงวรรณยุกต์เหล่านี้ไว้ โดยที่ [[ไม้เอก]] ใช้สำหรับแทนเสียง *B ในภาษาไทยโบราณ และ[[ไม้โท]] ใช้แทนเสียง *C ในภาษาไทยโบราณ จากตารางจะพบว่า วรรณยุกต์ *D มีลักษณะทางสัทศาสตร์เหมือนกับวรรณยุกต์ *B ซึ่งสอดคล้องกับการบังคับเอกโทในฉันทลักษณ์ของ[[โคลงสี่สุภาพ]] ที่กำหนดให้ทั้งคำเอก (คำที่กำกับโดยไม้เอก) และคำตายอยู่ในตำแหน่งเดียวกันได้ แสดงให้เห็นว่าในอดีต เสียงวรรณยุกต์ *B และ *D มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน
ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิม แท้จริงแล้วไม่ได้ต่างกันเพียงแค่ระดับเสียง (pitch) แต่ยังต่างกันที่คุณภาพของเสียง (ปกติ, ต่ำลึก, กักเส้นเสียง) และระยะเวลาของเสียงสระด้วย ลักษณะเช่นนี้ยังคงพบในภาษาตระกูลไทในปัจจุบันหลาย ๆ ภาษา อักขรวิธีของ[[ภาษาไทย]]ปัจจุบันยังคงแสดงวรรณยุกต์เหล่านี้ไว้ โดยที่ [[ไม้เอก]] ใช้สำหรับแทนเสียง *B ในภาษาไทยโบราณ และ[[ไม้โท]] ใช้แทนเสียง *C ในภาษาไทยโบราณ จากตารางจะพบว่า วรรณยุกต์ *D มีลักษณะทางสัทศาสตร์เหมือนกับวรรณยุกต์ *B ซึ่งสอดคล้องกับการบังคับเอกโทในฉันทลักษณ์ของ[[โคลงสี่สุภาพ]] ที่กำหนดให้ทั้งคำเอก (คำที่กำกับโดยไม้เอก) และคำตายอยู่ในตำแหน่งเดียวกันได้ แสดงให้เห็นว่าในอดีต เสียงวรรณยุกต์ *B และ *D มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน


ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิมมีความสอดคล้องกันกับระบบของ[[ภาษาจีนยุคกลาง]] ดังตารางต่อไปนี้<ref>{{cite book | first = G.B. | last = Downer | chapter = Chinese, Thai, and Miao-Yao | pages = 133–139 | url = http://sealang.net/sala/archives/pdf8/downer1963chinese.pdf | title = Linguistic Comparison in South East Asia and the Pacific | editor-first = H.L. | editor-last = Shorto | publisher = School of Oriental and African Studies, University of London | year = 1963 }}</ref><ref>{{cite book | last = Luo | first = Yong-Xian | chapter = Sino-Tai and Tai–Kadai: Another Look | pages = 9–28 | editor1-first = Anthony | editor1-last = Diller | editor2-first = Jerold A. | editor2-last = Edmondson | editor3-first = Yong-Xian | editor3-last = Luo | title = The Tai–Kadai Languages | series = Routledge Language Family Series | publisher = Psychology Press | year = 2008 | isbn = 978-0-7007-1457-5 }}</ref>
ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิมมีความสอดคล้องกันกับระบบของ[[ภาษาจีนยุคกลาง]] ดังตารางต่อไปนี้<ref>{{cite book | first = G.B. | last = Downer | chapter = Chinese, Thai, and Miao-Yao | pages = 133–139 | url = http://sealang.net/sala/archives/pdf8/downer1963chinese.pdf | title = Linguistic Comparison in South East Asia and the Pacific | editor-first = H.L. | editor-last = Shorto | publisher = School of Oriental and African Studies, University of London | year = 1963 }}</ref><ref>{{cite book | last = Luo | first = Yong-Xian | chapter = Sino-Tai and Tai–Kadai: Another Look | pages = 9–28 | editor1-first = Anthony | editor1-last = Diller | editor2-first = Jerold A. | editor2-last = Edmondson | editor3-first = Yong-Xian | editor3-last = Luo | title = The Tai–Kadai Languages | series = Routledge Language Family Series | publisher = Psychology Press | year = 2008 | isbn = 978-0-7007-1457-5 }}</ref>
บรรทัด 560: บรรทัด 561:
#เสียงกัก ไม่พ่นลม ไม่ก้อง
#เสียงกัก ไม่พ่นลม ไม่ก้อง
#เสียงกักเส้นเสียง
#เสียงกักเส้นเสียง
#เสียงก้องใดๆ
#เสียงก้องใด ๆ


กระบวนการแปรเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไท เกิดร่วมไปกับการแปรเสียงพยัญชนะต้น โดยลำดับขั้นตอนได้ดังนี้
กระบวนการแปรเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไท เกิดร่วมไปกับการแปรเสียงพยัญชนะต้น โดยลำดับขั้นตอนได้ดังนี้
บรรทัด 571: บรรทัด 572:
อนึ่ง วรรณยุกต์ *D ได้มีการแยกออกไปตามความสั้น-ยาวของสระในพยางค์ด้วย (*DS สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงสั้น และ *DL สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงยาว)
อนึ่ง วรรณยุกต์ *D ได้มีการแยกออกไปตามความสั้น-ยาวของสระในพยางค์ด้วย (*DS สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงสั้น และ *DL สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงยาว)


พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้เสนอว่า การแยกเสียงวรรณยุกต์เหล่านี้เกิดภายหลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกไปเป็นภาษาต่างๆ แล้ว แตกต่างจากแนวคิดของนักภาษาศาสตร์บางคนก่อนหน้านี้ เช่น [[เจมส์ อาร์ แชมเบอร์เลน]] (1975) ที่ได้เสนอว่าการแยกเสียงวรรณยุกต์เกิดก่อนที่จะมีการแยกตัวของภาษาตระกูลไท
พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้เสนอว่า การแยกเสียงวรรณยุกต์เหล่านี้เกิดภายหลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ แล้ว แตกต่างจากแนวคิดของนักภาษาศาสตร์บางคนก่อนหน้านี้ เช่น [[เจมส์ อาร์ แชมเบอร์เลน]] (1975) ที่ได้เสนอว่าการแยกเสียงวรรณยุกต์เกิดก่อนที่จะมีการแยกตัวของภาษาตระกูลไท


[[วิลเลียม เจ เก็ดนีย์]] (1972) ได้เสนอ '''กล่องวรรณยุกต์''' สำหรับใช้ในการวิเคราะห์การแปรเสียงวรรณยุกต์สำหรับภาษาในตระกูลไท<ref>Gedney, William J. (1972). [http://sealang.net/sala/archives/pdf8/gedney1989checklist.pdf A Checklist for Determining Tones in Tai Dialects.] In M. E. Smith (Ed.). ''Studies in Linguistics: In Honor of George L. Trager'' (pp. 423-437). Mouton.</ref><ref>Owen, R. W. (2012). A tonal analysis of contemporary Tai Khuen varieties. ''Journal of the Southeast Asian Linguistics Society (JSEALS), 5'', 12-31.</ref><ref>Manson, Ken. (2009). Prolegomena to Reconstructing Proto-Karen. ''La Trobe Papers in Linguistics, 12''. Available at [http://arrow.latrobe.edu.au:8080/vital/access/manager/Repository/latrobe:33118?exact=title%3A%22Prolegomena+to+reconstructing+Proto-Karen.%22]</ref><ref>Morey, Stephen. (2014). Studying tones in North East India: Tai, Singpho and Tangsa. ''Language Documentation & Conservation, 8'', 637–671.</ref> ดังตารางด้านล่างนี้
[[วิลเลียม เจ เก็ดนีย์]] (1972) ได้เสนอ '''กล่องวรรณยุกต์''' สำหรับใช้ในการวิเคราะห์การแปรเสียงวรรณยุกต์สำหรับภาษาในตระกูลไท<ref>Gedney, William J. (1972). [http://sealang.net/sala/archives/pdf8/gedney1989checklist.pdf A Checklist for Determining Tones in Tai Dialects.] In M. E. Smith (Ed.). ''Studies in Linguistics: In Honor of George L. Trager'' (pp. 423-437). Mouton.</ref><ref>Owen, R. W. (2012). A tonal analysis of contemporary Tai Khuen varieties. ''Journal of the Southeast Asian Linguistics Society (JSEALS), 5'', 12-31.</ref><ref>Manson, Ken. (2009). Prolegomena to Reconstructing Proto-Karen. ''La Trobe Papers in Linguistics, 12''. Available at [http://arrow.latrobe.edu.au:8080/vital/access/manager/Repository/latrobe:33118?exact=title%3A%22Prolegomena+to+reconstructing+Proto-Karen.%22]</ref><ref>Morey, Stephen. (2014). Studying tones in North East India: Tai, Singpho and Tangsa. ''Language Documentation & Conservation, 8'', 637–671.</ref> ดังตารางด้านล่างนี้
บรรทัด 614: บรรทัด 615:
|}
|}


และมีคำร่วมเชื้อสายตระกูลไท สำหรับทดสอบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทต่างๆ ต่อไปนี้<ref>Gedney (1972)</ref><ref>{{cite web |url=http://pacling.anu.edu.au/series/SEALS-PDFs/Somsonge2012tones.pdf |title=Tones of Thai Song Varieties |website=Pacling.anu.edu.au |accessdate=17 July 2016 |archive-date=2017-02-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170221220001/http://pacling.anu.edu.au/series/SEALS-PDFs/Somsonge2012tones.pdf |url-status=dead }}</ref><ref name="Jackson">Jackson, Eric M., Emily H.S. Jackson, and Shuh Huey Lau (2012). ''[http://www.sil.org/silesr/abstract.asp?ref=2012-036 A sociolinguistic survey of the Dejing Zhuang dialect area]''. ''SIL Electronic Survey Reports'' 2012-036, SIL International, East Asia Group.</ref>
และมีคำร่วมเชื้อสายตระกูลไท สำหรับทดสอบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทต่าง ๆ ต่อไปนี้<ref>Gedney (1972)</ref><ref>{{cite web |url=http://pacling.anu.edu.au/series/SEALS-PDFs/Somsonge2012tones.pdf |title=Tones of Thai Song Varieties |website=Pacling.anu.edu.au |accessdate=17 July 2016 |archive-date=2017-02-21 |archive-url=https://web.archive.org/web/20170221220001/http://pacling.anu.edu.au/series/SEALS-PDFs/Somsonge2012tones.pdf |url-status=dead }}</ref><ref name="Jackson">Jackson, Eric M., Emily H.S. Jackson, and Shuh Huey Lau (2012). ''[http://www.sil.org/silesr/abstract.asp?ref=2012-036 A sociolinguistic survey of the Dejing Zhuang dialect area]''. ''SIL Electronic Survey Reports'' 2012-036, SIL International, East Asia Group.</ref>


{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:100%;"
{| class="wikitable" style="text-align:center; margin:autwidth:100%;"
บรรทัด 722: บรรทัด 723:
|}
|}


ความแตกต่างระหว่าง ''*ɓaw<sup>B</sup>'' และ ''*mi:<sup>A</sup>'' ยังไม่ชัดเจน อาจเป็นไปได้ว่ามีความแตกต่างระหว่างความเน้นกับความไม่เน้น ใน[[ลิลิตพระลอ]] พบว่ามีการใช้คำว่า ''บ่'' ในการปฏิเสธแบบเน้น และใช้ ''มิ'' ในการปฏิเสธแบบไม่เน้น ดังนั้นเป็นไปได้ว่า ''*ɓaw<sup>B</sup>'' เป็นคำปฏิเสธแบบเน้นในภาษาไทดั้งเดิม และ ''*mi:<sup>A</sup>'' เป็นคำปฏิเสธแบบไม่เน้น ในภาษาตระกูลไทปัจจุบันพบว่าเส้นแบ่งระหว่างปฏิเสธแบบสมบูรณ์กับไม่สมบูรณ์ค่อยๆ จางลง มีเพียงบางภาษาเท่านั้นที่ยังรักษาความแตกต่างระหว่างสองแบบนี้
ความแตกต่างระหว่าง ''*ɓaw<sup>B</sup>'' และ ''*mi:<sup>A</sup>'' ยังไม่ชัดเจน อาจเป็นไปได้ว่ามีความแตกต่างระหว่างความเน้นกับความไม่เน้น ใน[[ลิลิตพระลอ]] พบว่ามีการใช้คำว่า ''บ่'' ในการปฏิเสธแบบเน้น และใช้ ''มิ'' ในการปฏิเสธแบบไม่เน้น ดังนั้นเป็นไปได้ว่า ''*ɓaw<sup>B</sup>'' เป็นคำปฏิเสธแบบเน้นในภาษาไทดั้งเดิม และ ''*mi:<sup>A</sup>'' เป็นคำปฏิเสธแบบไม่เน้น ในภาษาตระกูลไทปัจจุบันพบว่าเส้นแบ่งระหว่างปฏิเสธแบบสมบูรณ์กับไม่สมบูรณ์ค่อย ๆ จางลง มีเพียงบางภาษาเท่านั้นที่ยังรักษาความแตกต่างระหว่างสองแบบนี้


==หน่วยคำ==
==หน่วยคำ==
บรรทัด 748: บรรทัด 749:


{| class="wikitable sortable"
{| class="wikitable sortable"
! เลขที !! อังกฤษ !! ไทดั้งเดิม !! > แปรไทย !! ความหมายภาษาไทย
! เลขที่ !! อังกฤษ !! ไทดั้งเดิม !! > แปรไทย !! ความหมายภาษาไทย
|-
|-
| 1 || head (1) || *krawᶜ || เกร้า|| หัว
| 1 || head (1) || *krawᶜ || เกร้า || หัว
|-
|-
| 2 || head (2) || *truəᴬ || ตรัว
| 2 || head (2) || *truəᴬ || ตรัว || =หัว
| =หัว
|-
|-
| 3 || hair, head || *prɤmᴬ || เพริม || ผม
| 3 || hair, head || *prɤmᴬ || เพริม || ผม
บรรทัด 765: บรรทัด 765:
| 7 || forehead || *praːkᴰ || ปราก || หน้า”ผาก”
| 7 || forehead || *praːkᴰ || ปราก || หน้า”ผาก”
|-
|-
| 8 || nose || *ɗaŋᴬ ||อฺดัง
| 8 || nose || *ɗaŋᴬ || อฺดัง || จมูก
| จมูก
|-
|-
| 9 || mucus of the nose || *muːkᴰ || มูก || น้ำ”มูก”
| 9 || mucus of the nose || *muːkᴰ || มูก || น้ำ”มูก”
บรรทัด 796: บรรทัด 795:
| 22 || neck || *ɣoːᴬ || โฅ || คอ
| 22 || neck || *ɣoːᴬ || โฅ || คอ
|-
|-
| 23 || goiter || *ʰniəŋᴬ ||เหฺนียง(เสียงสามัญ)
| 23 || goiter || *ʰniəŋᴬ ||เหฺนียง(เสียงสามัญ) || เหนียง
| เหนียง
|-
|-
| 24 || shoulder || *C̥.baːᴮ || ?.บ่า|| บ่า
| 24 || shoulder || *C̥.baːᴮ || ?.บ่า|| บ่า
|-
|-
| 25 || arm || *qeːnᴬ || แกน || แขน
| 25 || arm || *qeːnᴬ || เกน || แขน
|-
|-
| 26 || elbow || *C̬.swoːkᴰ || ?.โสฺวก || ศอก
| 26 || elbow || *C̬.swoːkᴰ || ?.โสฺวก || ศอก
บรรทัด 819: บรรทัด 817:
| 33 || shin, lower leg || *ɣeːŋᴮ || แฅ่ง(เสียงเอก) || แข้ง
| 33 || shin, lower leg || *ɣeːŋᴮ || แฅ่ง(เสียงเอก) || แข้ง
|-
|-
| 34 || foot || *tiːnᴬ || ตีน ||
| 34 || foot || *tiːnᴬ || ตีน || ตีน
|-
|-
| 35 || heel || *sɤnᶜ || เสิ้น || ส้น
| 35 || heel || *sɤnᶜ || เสิ้น || ส้น
บรรทัด 833: บรรทัด 831:
| 40 || stomach, belly || *dwuːŋᶜ || ดฺวู้ง(เสียงโท) || ท้อง
| 40 || stomach, belly || *dwuːŋᶜ || ดฺวู้ง(เสียงโท) || ท้อง
|-
|-
| 41 || navel (1) || *ɗwɯːᴬ || อฺดฺวือ || สะ”ดือ”
| 41 || navel (1) || *ɗwɯːᴬ || อฺดฺวือ || =สะ”ดือ”
|-
|-
| 42 || navel (2) || *ɓliːᶜ || อฺบฺลี้ || สะดือ
| 42 || navel (2) || *ɓliːᶜ || อฺบฺลี้ || สะดือ
บรรทัด 873: บรรทัด 871:
| 60 || pus || *ʰnoːŋᴬ || โหฺนง(เสียงสามัญ) || หนอง
| 60 || pus || *ʰnoːŋᴬ || โหฺนง(เสียงสามัญ) || หนอง
|-
|-
| 61 || impetigo || *kritᴰ || กริด
| 61 || impetigo || *kritᴰ || กริด || หิด
| หิด
|-
|-
| 62 || wound || *ɓaːtᴰ || บาด || “บาด”แผล
| 62 || wound || *ɓaːtᴰ || อฺบาด || “บาด”แผล
|-
|-
| 63 || scurf || *ɣɯjᴬ || ฅืย || ขี้”ไคล”
| 63 || scurf || *ɣɯjᴬ || ฅืย || ขี้”ไคล”
บรรทัด 898: บรรทัด 895:
| 72 || cold (n.) || *q.watᴰ || ก.วัด || หวัด
| 72 || cold (n.) || *q.watᴰ || ก.วัด || หวัด
|-
|-
| 73 || epidemic || *raːᴮ || ร่า(เสียงเอก)
| 73 || epidemic || *raːᴮ || ร่า(เสียงเอก) || ห่า=โรคระบาด
| ห่า=โรคระบาด
|-
|-
| 74 || kidney-stones || *ʰniːwᶜ || หฺนิ้ว || นิ่ว
| 74 || kidney-stones || *ʰniːwᶜ || หฺนี้ว || นิ่ว
|-
|-
| 75 || dog || *ʰmaːᴬ || หฺมา(เสียงสามัญ) || หมา
| 75 || dog || *ʰmaːᴬ || หฺมา(เสียงสามัญ) || หมา
บรรทัด 921: บรรทัด 917:
| 83 || deer || *kwɯəŋᴬ || เกวือง || กวาง
| 83 || deer || *kwɯəŋᴬ || เกวือง || กวาง
|-
|-
| 84 || antelope || *waːlᴬ ||วาล
| 84 || antelope || *waːlᴬ ||วาล || ฟาน=เก้ง
| ฟาน=เก้ง
|-
|-
| 85 || monkey || *liːŋᴬ || ลีง || ลิง
| 85 || monkey || *liːŋᴬ || ลีง || ลิง
บรรทัด 934: บรรทัด 929:
| 89 || porcupine || *ʰmenᶜ || เหฺม้น || เม่น
| 89 || porcupine || *ʰmenᶜ || เหฺม้น || เม่น
|-
|-
| 90 || civet cat || *ʰɲelᴬ ||เหฺญ็ล
| 90 || civet cat || *ʰɲelᴬ ||เหฺญ็ล(เสียงสามัญ) || อี”เห็น” และรวมไปถึงชะมด
| อี”เห็น” และรวมไปถึงชะมด
|-
|-
| 91 || otter || *naːkᴰ || นาก ||
| 91 || otter || *naːkᴰ || นาก ||
บรรทัด 983: บรรทัด 977:
| 113 || snake || *ŋwɯːᴬ || งฺวือ || งู
| 113 || snake || *ŋwɯːᴬ || งฺวือ || งู
|-
|-
| 114 || crocodile || *ŋɯəkᴰ || เงือก
| 114 || crocodile || *ŋɯəkᴰ || เงือก || เงือก~>จระเข้
| เงือก~>จระเข้
|-
|-
| 115 || leech, land || *daːkᴰ || ดาก ||ทาก
| 115 || leech, land || *daːkᴰ || ดาก ||ทาก
บรรทัด 996: บรรทัด 989:
| 119 || mosquito || *ɲuŋᴬ || ญุง || ยุง
| 119 || mosquito || *ɲuŋᴬ || ญุง || ยุง
|-
|-
| 120 || wasp || *b.twiːlᴬ ||บ.ตฺวีล
| 120 || wasp || *b.twiːlᴬ ||บ.ตฺวีล || แตน และรวมไปถึงต่อ
| แตน และรวมไปถึงต่อ
|-
|-
| 121 || bee || *toːᴮ || ต่อ ||ผึ้ง
| 121 || bee || *toːᴮ || ต่อ ||ผึ้ง
บรรทัด 1,019: บรรทัด 1,011:
| 130 || flea || *ʰmatᴰ || หฺมัด || หมัด
| 130 || flea || *ʰmatᴰ || หฺมัด || หมัด
|-
|-
| 131 || louse, body || *m.lelᴬ || ม.เล็ล
| 131 || louse, body || *m.lelᴬ || ม.เล็ล || เล็น
|เล็น
|-
|-
| 132 || louse, chicken || *rwɤjᴬ || เรฺว็ย
| 132 || louse, chicken || *rwɤjᴬ || เรฺว็ย || ไร
| ไร
|-
|-
| 133 || spider || *krwaːwᴬ || กฺรฺวาว || แมงมุม
| 133 || spider || *krwaːwᴬ || กฺรฺวาว || แมงมุม
|-
|-
| 134 || coconut grub || *ɗuəŋᶜ || อฺด้วง
| 134 || coconut grub || *ɗuəŋᶜ || อฺด้วง || ด้วง
| ด้วง
|-
|-
| 135 || stink bug || *geːŋ1 || เคง || แมง”แคง”(ลาว)=มวนชนิดหนึ่ง
| 135 || stink bug || *geːŋ1 || เคง || แมง”แคง”(ลาว)=มวนชนิดหนึ่ง
บรรทัด 1,096: บรรทัด 1,085:
| 167 || root || *C̬.raːkᴰ || ?.ราก || ราก
| 167 || root || *C̬.raːkᴰ || ?.ราก || ราก
|-
|-
| 168 || clump (as of bamboo) || *koːᴬ || กอ ||
| 168 || clump (as of bamboo) || *koːᴬ || โก || กอ
|-
|-
| 169 || sprout, shoot || *ʰnoːᴮ || โหฺน่ || หน่อ
| 169 || sprout, shoot || *ʰnoːᴮ || โหฺน่ || หน่อ
บรรทัด 1,154: บรรทัด 1,143:
| 196 || tea || *ɟaːᴬ || ชา ||
| 196 || tea || *ɟaːᴬ || ชา ||
|-
|-
| 197 || raisin || *ʔitᴰ || อิต || ลูก”เกด”
| 197 || raisin || *ʔitᴰ || อิด || ลูก”เกด”
|-
|-
| 198 || rattan || *C̥.waːjᴬ || ?.วาย || หวาย
| 198 || rattan || *C̥.waːjᴬ || ?.วาย || หวาย
บรรทัด 1,314: บรรทัด 1,303:
| 276 || father's younger sister || *ʔaːᴬ || อา || อา(หญิง)
| 276 || father's younger sister || *ʔaːᴬ || อา || อา(หญิง)
|-
|-
| 277 || mother's younger sibling || *naːᶜ || น้า ||
| 277 || mother's younger sibling || *naːᶜ || น้า(เสียงโท) || น้า
|-
|-
| 278 || father's younger brother || *ʔaːwᴬ || อาว || อา(ชาย)
| 278 || father's younger brother || *ʔaːwᴬ || อาว || อา(ชาย)
บรรทัด 1,330: บรรทัด 1,319:
| 284 || child (young person) || *ɗekᴰ || เอฺด็ก || เด็ก
| 284 || child (young person) || *ɗekᴰ || เอฺด็ก || เด็ก
|-
|-
| 285 || man, male || *ʑaːjᴬ || จาย || ชาย
| 285 || man, male || *ʑaːjᴬ || ฌาย || ชาย
|-
|-
| 286 || unmarried man || *ɓaːwᴮ || อฺบ่าว || บ่าว~>หนุ่มโสด
| 286 || unmarried man || *ɓaːwᴮ || อฺบ่าว || บ่าว~>หนุ่มโสด
บรรทัด 1,348: บรรทัด 1,337:
| 293 || name || *ɟɤːᴮ || ชื่อ(เสียงเอก) || ชื่อ
| 293 || name || *ɟɤːᴮ || ชื่อ(เสียงเอก) || ชื่อ
|-
|-
| 294 || master, owner || *ɕɤwᶜ || เจิ้ว || เจ้า
| 294 || master, owner || *ɕɤwᶜ || ~เชิ้ว(เสียงโท) || เจ้า
|-
|-
| 295 || slave (1) || *χɔːjᴮ || ฃ้อย || ข้า
| 295 || slave (1) || *χɔːjᴮ || ฃ้อย || ข้า
บรรทัด 1,384: บรรทัด 1,373:
| 311 || stake || *ʰlakᴰ || หฺลัก ||หลัก
| 311 || stake || *ʰlakᴰ || หฺลัก ||หลัก
|-
|-
| 312 || eaves || *ʑaːjᴬ || จาย || “ชาย”คาบ้าน
| 312 || eaves || *ʑaːjᴬ || ฌาย || “ชาย”คาบ้าน
|-
|-
| 313 || door || *tuːᴬ || ตู || ประตู
| 313 || door || *tuːᴬ || ตู || ประตู
บรรทัด 1,504: บรรทัด 1,493:
| 371 || yoke || *ʔeːkᴰ || เอก || แอก
| 371 || yoke || *ʔeːkᴰ || เอก || แอก
|-
|-
| 372 || yoke, part of || *ʔoːŋᶜ || โอ้ง || ส่วนหนึ่งของแอก
| 372 || yoke, part of || *ʔoːŋᶜ || โอ้ง || อ้อง(ลาว)=ส่วนประกอบหนึ่งของแอก
|-
|-
| 373 || mortar (1) || *grokᴰ || ครก || =ครก
| 373 || mortar (1) || *grokᴰ || ครก || =ครก
บรรทัด 1,880: บรรทัด 1,869:
| 559 || lift, to || *ɲoːᴬ || โญ || ยอ
| 559 || lift, to || *ɲoːᴬ || โญ || ยอ
|-
|-
| 560 || carry in the arms, to || *ʔuːmᶜ || อุ้ม ||
| 560 || carry in the arms, to || *ʔuːmᶜ || อู้ม || อุ้ม
|-
|-
| 561 || carry (a bag), to || *triːwᶜ || ตริ้ว || หิ้ว
| 561 || carry (a bag), to || *triːwᶜ || ตริ้ว || หิ้ว
บรรทัด 1,900: บรรทัด 1,889:
| 569 || scratch, to || *kawᴬ || เกา ||
| 569 || scratch, to || *kawᴬ || เกา ||
|-
|-
| 570 || put, to || *s.cɤːlᴮ || ส.เจิ่ล || ใส่
| 570 || put, to || *s.cɤːlᴮ || ส.เจ่อล || ใส่
|-
|-
| 571 || snap, to || *ɓliːtᴰ || อฺบฺลีด || ดีด
| 571 || snap, to || *ɓliːtᴰ || อฺบฺลีด || ดีด
บรรทัด 2,166: บรรทัด 2,155:
| 702 || shrink, to || *ʰrotᴰ || หฺรด || หด
| 702 || shrink, to || *ʰrotᴰ || หฺรด || หด
|-
|-
| 703 || disappear, to || *ʰrwɤːjᴬ || หฺรฺวาย || หาย
| 703 || disappear, to || *ʰrwɤːjᴬ || เหฺรฺวอย || หาย
|-
|-
| 704 || die, to || *p.taːjᴬ || ป.ตาย || ตาย
| 704 || die, to || *p.taːjᴬ || ป.ตาย || ตาย
บรรทัด 2,188: บรรทัด 2,177:
| 713 || be finished, to || *leːwᶜ || เล้ว(เสียงโท) || “แล้ว”เสร็จ
| 713 || be finished, to || *leːwᶜ || เล้ว(เสียงโท) || “แล้ว”เสร็จ
|-
|-
| 714 || to commission || *ʑaɰᶜ || ใจ้(จ้า~อื้อ) || ใช้
| 714 || to commission || *ʑaɰᶜ || ใฌ้(ฌ้า~อื้อ)(เสียงโท) || ใช้
|-
|-
| 715 || entrust, to || *ʰwaːkᴰ || หฺวาก || ฝาก
| 715 || entrust, to || *ʰwaːkᴰ || หฺวาก || ฝาก
บรรทัด 2,216: บรรทัด 2,205:
| 727 || five || *haːᶜ || ห้า ||
| 727 || five || *haːᶜ || ห้า ||
|-
|-
| 728 || six || *krokᴰ || หก ||
| 728 || six || *krokᴰ || กรก || หก
|-
|-
| 729 || seven || *cetᴰ || เจ็ด ||
| 729 || seven || *cetᴰ || เจ็ด ||
บรรทัด 2,246: บรรทัด 2,235:
| 742 || other || *ʔɯːnᴮ || อื่น ||
| 742 || other || *ʔɯːnᴮ || อื่น ||
|-
|-
| 743 || measure from thumb to fingertip || *ɣɯːpᴰ || คืบ ||
| 743 || measure from thumb to fingertip || *ɣɯːpᴰ || ฅืบ || คืบ
|-
|-
| 744 || bite (n.), speech || *gamᴬ || คำ || เช่น กินไปคำนึง หรือแปลว่าคำพูด
| 744 || bite (n.), speech || *gamᴬ || คำ || เช่น กินไปคำนึง หรือแปลว่าคำพูด
บรรทัด 2,306: บรรทัด 2,295:
| 772 || middle || *klaːŋᴬ || กลาง ||
| 772 || middle || *klaːŋᴬ || กลาง ||
|-
|-
| 773 || side || *C̥.bɯǝŋᶜ || ?.เบื้อง | เบื้อง~>ด้างข้าง
| 773 || side || *C̥.bɯǝŋᶜ || ?.เบื้อง || เบื้อง~>ด้างข้าง
|-
|-
| 774 || this || *najᶜ || ไน้(เสียงโท) || นี่,นี้
| 774 || this || *najᶜ || ไน้(เสียงโท) || นี่,นี้
บรรทัด 2,345: บรรทัด 2,334:
{{refbegin}}
{{refbegin}}
* Gedney, William J., and Thomas J. Hudak. ''William J. Gedney's Southwestern Tai Dialects: Glossaries, Texts and Translations.'' [Ann Arbor, Mich.]: Center for South and Southeast Asian Studies, University of Michigan, 1994. Print.
* Gedney, William J., and Thomas J. Hudak. ''William J. Gedney's Southwestern Tai Dialects: Glossaries, Texts and Translations.'' [Ann Arbor, Mich.]: Center for South and Southeast Asian Studies, University of Michigan, 1994. Print.
* Thurgood, Graham. 2002. [http://www.csuchico.edu/~gthurgood/Papers/GedneyPaperUpdated.pdf "A comment on Gedney's proposal for another series of voiced initials in Proto-Tai revisited."] ''Studies in Southeast Asian Languages'', edited by Robert Bauer. Pacific Linguistics. pp.&nbsp;169–183. (updated 2006)
* Thurgood, Graham. 2002. [http://www.csuchico.edu/~gthurgood/Papers/GedneyPaperUpdated.pdf "A comment on Gedney's proposal for another series of voiced initials in Proto-Tai revisited."] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20171116074241/http://www.csuchico.edu/~gthurgood/Papers/GedneyPaperUpdated.pdf |date=2017-11-16 }} ''Studies in Southeast Asian Languages'', edited by Robert Bauer. Pacific Linguistics. pp. 169–183. (updated 2006)
{{refend}}
{{refend}}


บรรทัด 2,384: บรรทัด 2,373:
*Ostapirat, Weera. (2013). [https://brill.com/view/journals/bcl/7/1/article-p189_6.xml The Rime System of Proto-Tai]. ''Bulletin of Chinese Linguistics, 7''(1), 189-227.
*Ostapirat, Weera. (2013). [https://brill.com/view/journals/bcl/7/1/article-p189_6.xml The Rime System of Proto-Tai]. ''Bulletin of Chinese Linguistics, 7''(1), 189-227.
*Pittayaporn, Pittayawat. 2008. [http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~ppittaya/publications/pswt08.pdf "Proto-Southwestern Tai: A New Reconstruction"]. Paper presented at the 18th Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society. Universiti Kebangsaan Malaysia, Bangi.
*Pittayaporn, Pittayawat. 2008. [http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~ppittaya/publications/pswt08.pdf "Proto-Southwestern Tai: A New Reconstruction"]. Paper presented at the 18th Annual Meeting of the Southeast Asian Linguistics Society. Universiti Kebangsaan Malaysia, Bangi.
*Puttachart, P. & Thananan, T. (1998). The position of Tak Bai in Tai dialects. In S. Burusphat (Ed.), ''Proceedings of the International Conference on Tai Studies'' (pp.&nbsp;313–322).
*Puttachart, P. & Thananan, T. (1998). The position of Tak Bai in Tai dialects. In S. Burusphat (Ed.), ''Proceedings of the International Conference on Tai Studies'' (pp. 313–322).
*Sarawit, Mary. 1973. ''The Proto-Tai Vowel System''. University of Michigan, Department of Linguistics: PhD dissertation.
*Sarawit, Mary. 1973. ''The Proto-Tai Vowel System''. University of Michigan, Department of Linguistics: PhD dissertation.
{{refend}}
{{refend}}
บรรทัด 2,391: บรรทัด 2,380:
* [https://web.archive.org/web/20170413020146/http://language.psy.auckland.ac.nz/austronesian/language.php?id=698 ABVD: Proto-Tai word list]
* [https://web.archive.org/web/20170413020146/http://language.psy.auckland.ac.nz/austronesian/language.php?id=698 ABVD: Proto-Tai word list]
* [https://web.archive.org/web/20170413020449/http://language.psy.auckland.ac.nz/austronesian/language.php?id=684 ABVD: Proto-Southwestern Tai word list]
* [https://web.archive.org/web/20170413020449/http://language.psy.auckland.ac.nz/austronesian/language.php?id=684 ABVD: Proto-Southwestern Tai word list]
* [https://abvd.shh.mpg.de/austronesian/classification.php?node=Tai-Kadai ABVD: word lists of Kra-Dai languages]
* [https://abvd.shh.mpg.de/austronesian/classification.php?node=Tai-Kadai ABVD: word lists of Kra-Dai languages] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20201031135614/https://abvd.shh.mpg.de/austronesian/classification.php?node=Tai-Kadai |date=2020-10-31 }}


'''พจนานุกรม'''
'''พจนานุกรม'''

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:56, 28 มีนาคม 2567

ภาษาไทดั้งเดิม[1] (อังกฤษ: Proto-Tai language) เป็นภาษาดั้งเดิม (proto-language) หรือภาษาบรรพบุรุษที่ได้รับการสืบสร้างขึ้นของกลุ่มภาษาไททั้งมวล ซึ่งได้แก่ ภาษาไทย ภาษาลาว ภาษาคำเมือง ภาษาไทใหญ่ ภาษาไทลื้อ ภาษาไทดำ เป็นต้น ทั้งนี้ ภาษาไทดั้งเดิมมิได้ปรากฏเป็นหลักฐานในเอกสารใด ๆ ที่หลงเหลืออยู่โดยตรง แต่ได้รับการสืบสร้างตามระเบียบวิธีเปรียบเทียบ (comparative method) โดยนักภาษาศาสตร์หลี่ ฟางกุ้ย ใน พ.ศ. 2520[2] และพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ ใน พ.ศ. 2552[3][4]

ระบบเสียง

[แก้]

ภาษาไทดั้งเดิมมีหน่วยเสียงพยัญชนะที่หลากหลายกว่าภาษาตระกูลไทในปัจจุบัน แต่มีเสียงวรรณยุกต์ที่น้อยกว่าภาษาปัจจุบัน

พยัญชนะเดี่ยว

[แก้]

ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบพยัญชนะของภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของ หลี่ ฟางกุ้ย ในหนังสือ คู่มือภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบตระกูลไท (A Handbook of Comparative Tai). พยัญชนะในฐานเพดานแข็ง ซึ่งระบุในหนังสือดังกล่าวด้วยสัญลักษณ์ [č, čh, ž] ถูกจัดเป็นหยัญชนะกักเสียดแทรก (affricate consonant) ในที่นี้จะใช้สัญลักษณ์ [, tɕʰ and ] ตามลำดับ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสัทอักษรสากล

พยัญชนะภาษาไทดั้งเดิม
(หลี่ ฟางกุ้ย 1977)
ริมฝีปาก (Labial) ปุ่มเหงือก (Alveolar) เพดานแข็ง (Palatal) เพดานอ่อน (Velar) เส้นเสียง (Glottal)
หยุด (Stop) ไม่ก้อง ไม่พ่นลม (Voiceless unaspirated) p t t͡ɕ k ʔ
ไม่ก้อง พ่นลม (Voiceless aspirated) t͡ɕʰ
ก้อง (Voiced) b d d͡ʑ ɡ
กักเส้นเสียง (Glottalized) ˀb ˀd ˀj
เสียดแทรก (Fricative) ไม่ก้อง (Voiceless) f s x h
ก้อง (Voiced) v z ɣ
นาสิก (Nasals) ไม่ก้อง (Voiceless) ʰm ʰn ʰɲ ʰŋ
ก้อง (Voiced) m n ɲ ŋ
ไหล (Liquids) และ กึ่งสระ (semivowel) ไม่ก้อง (Voiceless) ʰw ʰr, ʰl
ก้อง (Voiced) w r, l j

ระบบเสียงดังกล่าวนี้ได้รับการสืบสร้างใหม่โดย พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ ในปี พ.ศ. 2552 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงหลายประการด้วยกัน การเปลี่ยนแปลงบางอย่างเป็นเพียงการตีความที่แตกต่างกันเท่านั้น ได้แก่ พยัญชนะฐานเพดานแข็งถูกจัดใหม่ให้เป็นพยัญชนะกัก (stop) แทนที่จะเป็นพยัญชนะกักเสียดแทรก (affricate) ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับพยัญชนะอื่น ๆ ภายในระบบเสียงภาษาไทดั้งเดิม และสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงทางสัทศาสตร์ได้โดยใช้หลักเดียวกันกับพยัญชนะกักตัวอื่น ๆ (ทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่าเสียงพยัญชนะเหล่านี้ไม่ได้มีลักษณะของการกักเสียดแทรก) การตีความอีกอย่างที่ต่างกันคือ พยัญชนะที่มีเสียงกักเส้นเสียงนำมาก่อน (pre-glottalized consonant) [ˀb, ˀd] ถูกตีความใหม่ให้เป็นเสียงกักเส้นเสียงลมเข้า (implosive consonant) [ɓ, ɗ] แทน อย่างไรก็ตาม การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างแท้จริง ได้แก่

  1. พยัญชนะกักพ่นลมถูกตัดออก โดยจัดให้เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใหม่ในภายหลัง หลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกเป็นสาขาย่อยต่าง ๆ
  2. ตัดพยัญชนะเสียดแทรกริมฝีปาก (/f/ และ /v/) ออก โดยจัดให้เป็นการแปรเสียงที่เกิดขึ้นในภายหลังแทน
  3. เพิ่มเสียงพยัญชนะฐานลิ้นไก่ (uvular consonant) ออกมาต่างหาก (*/q/, */ɢ/, and */χ/) โดยเป็นหน่วยเสียงแยกจากพยัญชนะฐานเพดานอ่อน (velar) โดยมีที่มาจากความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะในกลุ่ม /kʰ/, /x/ และ /h/ ในภาษาภายในตระกูลไทภาษาต่าง ๆ ในปัจจุบัน โดยเฉพาะในภาษาพวน และภาษาผู้ไทกะป๋อง ความแตกต่างของเสียง /kʰ/ และ /x/ สามารถสืบสร้างได้จากภาษาไทขาว อย่างไรก็ตาม พบว่าคำที่มีเสียงพยัญชนะต้น /x/ ในภาษาไทขาว สอดคล้อง (มีเชื้อสายร่วม) กันกับคำที่มีเสียงพยัญชนะต้นในภาษาพวนและภาษาผู้ไทกะป๋องได้ถึง 3 แบบ บางคำขึ้นต้นด้วยเสียง /kʰ/ ในทั้งสองภาษา, บางคำขึ้นต้นด้วย /h/ ในทั้งสองภาษา และบางคำขึ้นต้นด้วย /kʰ/ ในภาษาพวน แต่กลับเป็นเสียง /h/ ในภาษาผู้ไทกะปง แสดงว่าในภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีหน่วยเสียงในกลุ่มนี้แตกต่างกันได้ถึง 3 หน่วยเสียง ไม่ใช่มีเพียงเสียง /x/ ตามการสืบสร้างแบบเดิม ดังนั้นพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ จึงสืบสร้างหน่วยเสียงใหม่สำหรับความสอดคล้องทั้ง 3 แบบเป็น /x/, /χ/ and /q/ ตามลำดับ

ตารางด้านล่างนี้แสดงระบบเสียงหยัญชนะในภาษาไทดั้งเดิม ตามการสืบสร้างของพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์

ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน ลิ้นไก่ เส้นเสียง
กัก ไม่ก้อง p t c k q ʔ
ก้อง b d ɟ ɡ ɢ
กักเส้นเสียง ɓ ɗ ˀj
เสียดแทรก ไม่ก้อง s (ɕ) x χ h
ก้อง z (ʑ) ɣ
นาสิก ไม่ก้อง ʰm ʰn ʰɲ (ʰŋ)
ก้อง m n ɲ ŋ
เสียงไหลและกึ่งสระ ไม่ก้อง ʰw ʰr, ʰl
ก้อง w r, l

ภาษาตระกูลไทในปัจจุบันมีเสียงพยัญชนะท้าย (ตัวสะกด) เพียงไม่กี่เสียงเมื่อเทียบกับเสียงพยัญชนะต้น โดยมีลักษณะการเกิดเสียง (manner of articulation) ที่เป็นไปได้เพียง 3 แบบได้แก่ เสียงกัก, เสียงนาสิก และเสียงเปิดเท่านั้น และไม่มีการแยกระหว่างก้องหรือไม่ก้อง ทำให้หลี่ ฟางกุ้ย ได้สืบสร้างระบบเสียงพยัญชนะท้าย ซึ่งเหมือนกันกับในภาษาไทยปัจจุบัน

Proto-Tai consonantal syllabic codas
(Li 1977)
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน เส้นเสียง
กัก -p -t -k
นาสิก -m -n
เสียงไหลและกึ่งสระ -w -j

ในเวลาต่อมามีการศึกษาภาษาแสกเพิ่มขึ้น พบว่ามีคำที่มีเสียงพยัญชนะท้าย /-l/ อยู่ในภาษาดังกล่าว ซึ่งคำเหล่านี้ไม่ได้เป็นคำที่ยืมมาจากภาษาอื่น พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ จึงสันนิษฐานว่าภาษาไทดั้งเดิมควรจะมีเสียงพยัญชนะท้าย *-l อยู่ในระบบเสียง และยังพบว่ามีการแปรเสียงพยัญชนะท้ายที่แตกต่างกันระกหว่างภาษาแสกกับภาษาไทอื่น ๆ ได้แก่ คำที่ลงท้ายด้วย /-k/ บางคำในภาษาแสก กลับลงท้ายด้วย /-t/ ในภาษาไทอื่น คำเหล่านี้เดิมเคยถูกสืบสร้างให้ลงท้ายด้วย *-t ซึ่งไม่พบว่ามีเงื่อนไขใดสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงจาก *-t ไปเป็น *-k ได้ จึงได้สืบสร้างเสียงใหม่สำหรับการแปรเสียงดังกล่าวเป็น *-c แทน

นอกจากนี้หน่วยเสียงพยัญชนะท้ายอีกตัวที่อาจเป็นไปได้คือ /*-ɲ/ ซึ่งยังมีหลักฐานไม่มาก แต่สังเกตได้จากการที่คำว่า กิน /kinA1/ ในภาษาไทย เทียบได้กับภาษาในสาขาไทเหนือว่า /kɯnA1/ ซึ่งเป็นไปได้ว่าแท้จริงแล้วเสียงพยัญชนะท้ายของคำนี้ในภาษาไทดั้งเดิมควรจะเป็น *-ɲ (ซึ่งสืบสร้างคำนี้ได้เป็น *kɯɲA) ซึ่งต่อมาเกิดการเลื่อนฐานกรณ์ไปข้างหน้า (fronting) ของทั้งสระและพยัญชนะ กลายเป็น /kinA1/ ในภาษาไทย แต่เป็น /kɯnA1/ ในภาษากลุ่มไทเหนือ

Proto-Tai consonantal syllabic codas
(Pittayaporn 2009)
ริมฝีปาก ปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน
กัก -p -t -c -k
นาสิก -m -n (-ɲ)
เสียงไหลและกึ่งสระ -w -l -j

พยัญชนะควบ

[แก้]

หลี่ ฟางกุ้ย (1977) ได้สืบสร้างพยัญชนะต้นควบต่อไปนี้

Proto-Tai consonant clusters
(Li 1977)
Labial Alveolar Velar
Unvoiced Stop pr-, pl- tr-, tl- kr-, kl-, kw-
Aspirated unvoiced stop pʰr-, pʰl- tʰr-, tʰl- kʰr-, kʰl-, kʰw-
Voiced Stop br-, bl- dr-, dl- ɡr-, ɡl-, ɡw-
Implosive ˀbr-, ˀbl- ˀdr-, ˀdl-
Voiceless Fricative fr- xr-, xw-
Voiced Fricative vr-, vl-
Nasal mr-, ml- nr-, nl- ŋr-, ŋl-, ŋw-
Liquid

การสืบสร้างภาษาไทดั้งเดิมของหลี่ ฟางกุ้ย ยังมีปัญหาที่อธิบายไม่ได้หลายประการ หนึ่งในนั้นคือความไม่สอดคล้องกันระหว่างการแปรเสียงพยัญชนะต้น เช่น คำว่า (มีด)พร้า /phra:C2/ ซึ่งร่วมเชื้อสายกับคำว่า /tha:C2/ ในภาษาแสกซึ่งหลี่ ฟางกุ้ย เคยสืบสร้างให้ขึ้นต้นด้วย *vr- นอกจากนี้ยังมีคำอื่น ๆ พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) เห็นว่าการแปรเสียงดังกล่าวไม่สามารถอธิบายได้จากการสืบสร้างเดิม แต่จะอธิบายได้ถ้าให้ภาษาไทดั้งเดิมมีพยางค์ย่อย (sesquisyllable หรือ minor syllable) ที่นอกเหนือจากพยางหลักด้วย จากนั้นจึงอธิบายการแปรเสียงดังกล่าวได้ว่าเป็นการกร่อนของพยัญชนะควบทั้งพยางค์หลักและย่อยที่คนละตำแหน่งกัน ดังนั้นจึงแบ่งพยัญชนะควบออกได้เป็น

  1. ควบพยางค์เดี่ยว (Tautosyllabic clusters) – พิจารณาเป็นพยางค์เดียว
  2. ควบพยางค์ครึ่ง (Sesquisyllabic clusters) – ประกอบด้วยพยางค์ย่อย (อาจมองว่าเป็น "ครึ่งพยางค์") และพยางค์หลัก

พยัญชนะควบกล้ำพยางค์ครึ่งเป็นลักษณะที่พบได้ในภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกส่วนใหญ่ เช่นภาษาเขมร แต่ในภาษาตระกูลไทในปัจจุบันไม่พบว่ามีพยัญชนะควบกล้ำพยางค์ครึ่งหลงเหลืออยู่เลย ได้สันนิษฐานว่าภาษาไทดั้งเดิมเพิ่งเข้าสู่ระยะ "ควบกล้ำพยางค์ครึ่ง" (sesquisyllabic stage) เท่านั้น (ซึ่งกร่อนมาจาก ภาษาขร้าไทดั้งเดิม ที่สันนิษฐานว่ามีสองพยางค์เป็นอย่างต่ำ) ซึ่งกำลังจะเข้าสู่ระยะ "พยางค์เดียว" (monosyllabic stage) ต่อไป ดังที่พบในภาษาตระกูลไททุกภาษา

ตารางด้านล่างนี้แสดงพยัญชนะควบกล้ำพยางค์เดี่ยว ซึ่งสืบสร้างโดย พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009)

Proto-Tai consonant clusters
(Pittayaporn 2009)
Labial Alveolar Palatal Velar Uvular
Unvoiced Stop pr-, pl-, pw- tr-, tw- cr- kr-, kl-, kw- qr-, qw-
Implosive br-, bl-, bw- ɡr-, (ɡl-) ɢw-
Fricative sw- xw-, ɣw-
Nasal ʰmw- nw- ɲw- ŋw-
Liquid ʰrw-, rw-

ด้านล่างนี้เป็นตัวอย่างของกลุ่มพยัญชนะควบพยางค์ครึ่ง

Voiceless stop + voiceless stop (*C̥.C̥-)
  • *p.t-
  • *k.t-
  • *p.q-
  • *q.p-
Voiceless obstruent + voiced stop (*C̥.C̬-)
  • *C̥.b-
  • *C̥.d-
Voiced obstruent + voiceless stop (*C̬.C̥-)
  • *C̬.t-
  • *C̬.k-
  • *C̬.q-
Voiceless stops + liquids/glides (*C̥.r-)
  • *k.r-
  • *p.r-
  • *C̥.w-
Voiced consonant + liquid/glide
  • *m.l-
  • *C̬.r-
  • *C̬.l-
Clusters with non-initial nasals
  • *t.n-
  • *C̬.n-

พยัญชนะควบอื่น ๆ ได้แก่ *r.t-, *t.h-, *q.s-, *m.p-, *s.c-, *z.ɟ-, *g.r-, *m.n-; *gm̩.r-, *ɟm̩ .r-, *c.pl-, *g.lw-; etc.

สระ

[แก้]

หลี่ ฟางกุ้ย (1977) ได้สืบสร้างสระเดี่ยว จำนวน 9 เสียง โดยมีลักษณะสมมาตรทั้งสระส่วนหน้าและสระส่วนหลัง โดยสระส่วนหลังมีการแยกระหว่างปากห่อ (rounded) กับปากเหยียด (unrounded) ด้วย ซึ่งคล้ายคลึงกับระบบสระของภาษาตระกูลไทในปัจจุบัน แต่กลับไม่มีการแยกระหว่างความสั้น-ยาว ดังตารางด้านล่าง

Proto-Tai vowels
(หลี่ 1977)
Front Back
unrounded unrounded rounded
Close i
ɯ
u
Mid e
ɤ
o
Open ɛ
a
ɔ

พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้ปรับปรุงแก้ไขระบบเสียงสระใหม่ โดยตัดสระ /ɛ/ และ /ɔ/ ออก และเพิ่มความแตกต่างระหว่างความสั้น-ยาว ของสระ ดังตารางด้านล่าง

Proto-Tai vowels
(Pittayaporn 2009)
Front Back
unrounded unrounded rounded
short long short long short long
Close /i/
/iː/
/ɯ/
/ɯː/
/u/
/uː/
Mid /e/
/eː/
/ɤ/
/ɤː/
/o/
/oː/
Open /a/
/aː/

สระประสม (diphthong) โดย พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้แก่:

  • สูงขึ้น: */iə/, */ɯə/, */uə/
  • ต่ำลง: */ɤɰ/, */aɰ/

วรรณยุกต์

[แก้]
กระบวนการแยกของเสียงวรรณยุกต์ร่วมกับการแปรเสียงพยัญชนะต้น (จาก พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ 2009)

ภาษาไทดั้งเดิมมีเสียงวรรณยุกต์สามเสียงในพยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะเสียงกังวาน (พยางค์เป็น, อังกฤษ: unchecked syllable หรือ "live syllable") และไม่มีการแยกเสียงวรรณยุกต์ในพยางค์ที่ลงท้ายด้วยพยัญชนะปิดกั้น (พยางค์ตาย, อังกฤษ: checked syllable หรือ "dead syllable") ระบบเสียงดังกล่าวมีความคล้ายคลึงอย่างมากกับภาษาจีนยุคกลาง และพบได้ทั่วไปในภาษาแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เสียงวรรณยุกต์สามเสียงในพยางค์เป็นโดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์เป็น *A, *B และ *C ตามลำดับ และใช้สัญลักษณ์ *D สำหรับเสียงวรรณยุกต์ของพยางค์ตาย

หลี่ ฟางกุ้ย (1977) ยังไม่มีข้อมูลว่าลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ทั้งสาม (*A, *B และ *C) มีลักษณะทางสัทศาสตร์เป็นอย่างไร และวรรณยุกต์ *D นั้นแท้จริงแล้วมีลักษณะแบบเดียวกับวรรณยุกต์เสียงใดในทั้ง 3 เสียงนั้น ต่อมา พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้อธิบายลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ทั้งสี่ โดยอาศัยระเบียบวิธีเปรียบเทียบลักษณะของเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทปัจจุบัน แล้วสืบสร้างกลับไป ได้ดังนี้

Proto-Tai tonal characteristics
(Pittayaporn 2009)
*A *B *C *D
ชนิดของพยางค์ เป็น เป็น เป็น ตาย
ระดับเสียงเริ่มต้น กลาง ต่ำ สูง ต่ำ
รูปร่างเสียง คงที่ ยกขึ้น ตกลง ยกขึ้น
ความยาวสระ ค่อนยาว ค่อนสั้น
คุณภาพเสียง ปกติ (modal) ต่ำลึก (creaky) กักเส้นเสียง (glottal constriction)
ภาพ

ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิม แท้จริงแล้วไม่ได้ต่างกันเพียงแค่ระดับเสียง (pitch) แต่ยังต่างกันที่คุณภาพของเสียง (ปกติ, ต่ำลึก, กักเส้นเสียง) และระยะเวลาของเสียงสระด้วย ลักษณะเช่นนี้ยังคงพบในภาษาตระกูลไทในปัจจุบันหลาย ๆ ภาษา อักขรวิธีของภาษาไทยปัจจุบันยังคงแสดงวรรณยุกต์เหล่านี้ไว้ โดยที่ ไม้เอก ใช้สำหรับแทนเสียง *B ในภาษาไทยโบราณ และไม้โท ใช้แทนเสียง *C ในภาษาไทยโบราณ จากตารางจะพบว่า วรรณยุกต์ *D มีลักษณะทางสัทศาสตร์เหมือนกับวรรณยุกต์ *B ซึ่งสอดคล้องกับการบังคับเอกโทในฉันทลักษณ์ของโคลงสี่สุภาพ ที่กำหนดให้ทั้งคำเอก (คำที่กำกับโดยไม้เอก) และคำตายอยู่ในตำแหน่งเดียวกันได้ แสดงให้เห็นว่าในอดีต เสียงวรรณยุกต์ *B และ *D มีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน

ระบบวรรณยุกต์ในภาษาไทดั้งเดิมมีความสอดคล้องกันกับระบบของภาษาจีนยุคกลาง ดังตารางต่อไปนี้[5][6]

Sinitic–Tai tonal correspondences
Proto-Tai
Tone
Notes
(Written Thai orthography)
Middle Chinese
Tone
Chinese name Notes
(Middle Chinese)
*A Unmarked A 平 Level (Even) Unmarked
*B Marked by -' (mai ek) C 去 Departing Marked by -h
*C Marked by -้ (mai tho) B 上 Rising Marked by -x
*D Unmarked D 入 Entering Marked by -p, -t, -k

วรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทปัจจุบันได้มีพัฒนาการมาจากวรรณยุกต์ทั้งสี่ดังกล่าว โดยเกิดการแยกเสียงวรรณยุกต์แต่ละเสียงออกเป็นอย่างน้อย 2 เสียง ขึ้นอยู่กับลักษณะทางสัทศาสตร์ของพยัญชนะต้น ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 แบบ ต่อไปนี้

  1. "เสียงเสียดสี" (Friction sound) ได้แก่ เสียงเสียดแทรก ไม่ก้อง, เสียงกัก พ่นลม ไม่ก้อง, เสียงนาสิก ไม่ก้อง และเสียงไหล ไม่ก้อง
  2. เสียงกัก ไม่พ่นลม ไม่ก้อง
  3. เสียงกักเส้นเสียง
  4. เสียงก้องใด ๆ

กระบวนการแปรเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไท เกิดร่วมไปกับการแปรเสียงพยัญชนะต้น โดยลำดับขั้นตอนได้ดังนี้

  1. เสียงพยัญชนะต้นมีผลกระทบต่อเสียงวรรณยุกต์ ทำให้การรับรู้เสียงวรรณยุกต์มีความแตกต่างกันระหว่างพยัญชนะเสียงก้องและไม่ก้อง
  2. เกิดการแยกเสียงวรรณยุกต์อย่างชัดเจน สำหรับพยัญชนะเสียงไม่ก้อง (แยกเป็น *A1, *B1, *C1, *D1) และพยัญชนะเสียงก้อง (แยกเป็น *A2, *B2, *C2, *D2)
  3. เสียงกังวาน (sonorant) ไม่ก้อง ได้แปรไปเป็นเสียงก้อง
  4. เสียงกัก (stop) ก้อง เกิดการเสียความก้อง (devoicing) ไป กลายเป็นเสียงไม่ก้อง
  5. เกิดการแยกและรวมเสียงวรรณยุกต์ต่อไป

อนึ่ง วรรณยุกต์ *D ได้มีการแยกออกไปตามความสั้น-ยาวของสระในพยางค์ด้วย (*DS สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงสั้น และ *DL สำหรับพยางค์ที่มีสระเสียงยาว)

พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ได้เสนอว่า การแยกเสียงวรรณยุกต์เหล่านี้เกิดภายหลังจากที่ภาษาไทดั้งเดิมได้แยกออกไปเป็นภาษาต่าง ๆ แล้ว แตกต่างจากแนวคิดของนักภาษาศาสตร์บางคนก่อนหน้านี้ เช่น เจมส์ อาร์ แชมเบอร์เลน (1975) ที่ได้เสนอว่าการแยกเสียงวรรณยุกต์เกิดก่อนที่จะมีการแยกตัวของภาษาตระกูลไท

วิลเลียม เจ เก็ดนีย์ (1972) ได้เสนอ กล่องวรรณยุกต์ สำหรับใช้ในการวิเคราะห์การแปรเสียงวรรณยุกต์สำหรับภาษาในตระกูลไท[7][8][9][10] ดังตารางด้านล่างนี้

Gedney Box template
*A *B *C *DS *DL
Voiceless
(friction)
A1 B1 C1 DS1 DL1
Voiceless
(unaspirated)
A1 B1 C1 DS1 DL1
Voiceless
(glottalized)
A1 B1 C1 DS1 DL1
Voiced A2 B2 C2 DS2 DL2

และมีคำร่วมเชื้อสายตระกูลไท สำหรับทดสอบเสียงวรรณยุกต์ในภาษาตระกูลไทต่าง ๆ ต่อไปนี้[11][12][13]

Diagnostic words for Tai tones
*A *B *C *DS *DL
1: Voiceless
(friction)
huu หู ear,
khaa ขา leg,
hua หัว head;
sɔɔŋ สอง two,
maa หมา dog
khay ไข่ egg,
phaa ผ่า to split,
khaw เข่า knee;
may ใหม่ new,
sii สี่ four
khaaw ข้าว rice,
sɨa เสื้อ shirt,
khaa ฆ่า to kill,
khay ไข้ fever,
haa ห้า five;
thuay ถ้วย cup,
mɔɔ หม้อ pot,
naa หน้า face,
to wait
mat หมัด flea,
suk สุก cooked/ripe,
phak ผัก vegetable;
hok หก six,
sip สิบ ten
khaat ขาด broken/torn,
ŋɨak เหงือก gums,
haap หาบ to carry on a shoulder pole;
khuat ขวด bottle,
phuuk ผูก to tie,
sɔɔk ศอก elbow,
khɛɛk แขก guest,
fruit
2: Voiceless
(unaspirated)
pii ปี year,
taa ตา eye,
kin กิน to eat;
kaa กา teapot,
plaa ปลา fish
paa ป่า forest,
kay ไก่ chicken,
kɛɛ แก่ old;
taw เต่า turtle,
paw เป่า to blow,
pii ปี flute,
short (height)
paa ป้า aunt (elder),
klaa กล้า rice seedlings,
tom ต้ม to boil;
kaw เก้า nine,
klay ใกล้ near,
short (length)
kop กบ frog,
tap ตับ liver,
cep เจ็บ to hurt;
pet เป็ด duck,
tok ตก to fall/drop
pɔɔt ปอด lung,
piik ปีก wing,
tɔɔk ตอก to pound;
pɛɛt แปด eight,
paak ปาก mouth,
taak ตาก to dry in the sun,
to embrace
3: Voiceless
(glottalized)
bin บิน to fly,
dɛɛŋ แดง red,
daaw ดาว star;
bay ใบ leaf,
nose
baa บ่า shoulder,
baaw บ่าว young man,
daa ด่า to scold;
ʔim อิ่ม full,
(water) spring
baan บ้าน village,
baa บ้า crazy,
ʔaa อ้า to open (mouth);
ʔɔy อ้อย sugarcane,
daam ด้าม handle,
daay ด้าย string
bet เบ็ด fishhook,
dip ดิบ raw/unripe,
ʔok อก chest;
dɨk ดึก late,
to extinguish
dɛɛt แดด sunshine,
ʔaap อาบ to bathe,
dɔɔk ดอก flower;
ʔɔɔk ออก exit
4: Voiced mɨɨ มือ hand,
khwaay ควาย water buffalo,
naa นา ricefield;
ŋuu งู snake,
house
phii พี่ older sibling,
phɔɔ พ่อ father,
ray ไร่ dry field;
naŋ นั่ง to sit,
lɨay เลื่อย to saw,
ashes,
urine,
beard
nam น้ำ water,
nɔɔŋ น้อง younger sibling,
may ไม้ wood,
maa ม้า horse;
lin ลิ้น tongue,
thɔɔŋ ท้อง belly
nok นก bird,
mat มัด to tie up,
lak ลัก to steal;
sak ซัก to wash (clothes),
mot มด ant,
lep เล็บ nail
miit มีด knife,
luuk ลูก (one's) child,
lɨat เลือด blood,
nɔɔk นอก outside;
chɨak เชือก rope,
raak ราก root,
nasal mucus,
to pull

โครงสร้างพยางค์

[แก้]

แต่เดิมมีความเข้าใจว่าภาษาไทดั้งเดิมเป็นภาษาพยางค์เดียวเช่นเดียวกับภาษาตระกูลไทปัจจุบัน ตามการสืบสร้างของ หลี่ ฟางกุ้ย (1977) ต่อมาพิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) เสนอว่าภาษาไทดั้งเดิมเป็นภาษาพยางค์ครึ่ง ที่อนุญาตให้มีคำทั้งพยางค์เดียว และพยางค์ครึ่งอยู่ภายในภาษา ต่อมาคำพยางค์ครึ่งเหล่านั้นได้กร่อนเป็นคำพยางค์เดียวในภาษาตระกูลไทปัจจุบัน

โครงสร้างพยางค์
(พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ 2009)
พยางค์เปิด พยางค์ปิด
พยางค์เดียว *C(C)(C)V:T *C(C)(C)V(:)CT
พยางค์ครึ่ง *C(C).C(C)(C)V:T *C(C).C(C)(C)V(:)CT

สัญลักษณ์ย่อ:

  • C = พยัญชนะ
  • V = สระเสียงสั้น
  • V: = สระเสียงยาว
  • T = วรรณยุกต์
  • (...) = มีหรือไม่มีก็ได้

สระในพยางค์เปิดสามารถเป็นสระเสียงยาวได้อย่างเดียว ไม่สามารถเป็นสระเสียงสั้นได้

ภาษาในตระกูลไทปัจจุบันได้พัฒนาเป็นภาษาพยางค์เดียวโดยสมบูรณ์ โดยผ่านกระบวนการดังนี้

  1. การอ่อนเสียงลง (weakening)
  2. การแปรเป็นเสียงกักเส้นเสียงลมเข้า (implosivization)
  3. การสลับลำดับของเสียง (metathesis)
  4. การกลืนเสียง (assimilation)
  5. การกร่อนเสียง (simplification) - พยัญชนะควบกล้ำในพยางค์กร่อนลงเหลือพยัญชนะเดี่ยว

สัณฐานวิทยา

[แก้]

หลี่ ฟางกุ้ย (1977) เสนอว่าภาษาไทดั้งเดิมอาจมีการแปรเสียงพยัญชนะต้นระหว่างเสียงก้องและไม่ก้อง (voicing alternation) เพื่อแสดงหน้าที่ทางไวยากรณ์บางอย่าง แต่ยังไม่ทราบหน้าที่ทางไวยากรณ์ชัดเจน โดยยกตัวอย่างคำว่า เขี้ยว /khiəwC1/ ซึ่งสืบสร้างพยัญชนะต้นได้เป็น *kh- ในภาษาไทดั้งเดิม และคำว่า เคี้ยว /khiəwC2/ ซึ่งสืบสร้างพยัญชนะต้นได้เป็น *g- โดยมองว่าทั้งสองคำนี้ แท้จริงมีรากเดียวกันแต่มีการแปรระหว่างเสียงก้องและไม่ก้อง (*kh- และ *g-) เพื่อเปลี่ยนจากคำนามเป็นคำกริยา พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์ (2009) ไม่สนับสนุนทฤษฎีนี้

ไวยากรณ์

[แก้]

การศึกษาไวยากรณ์และสัณฐานวิทยาของภาษาไทดั้งเดิมยังมีไม่มากนัก

วากยสัมพันธ์

[แก้]

ภาษาไทดั้งเดิมมีเรียงคำแบบ ประธาน-กริยา-กรรม

การปฏิเสธ[14]

[แก้]

ภาษาไทดั้งเดิมมีการแยกการณ์ลักษณะในการปฏิเสธ โดยแยกระหว่างการปฏิเสธแบบสมบูรณ์ (perfect) และไม่สมบูรณ์ (non-perfect) และอาจมีการแบ่งเป็นแบบเน้น (emphatic) และแบบไม่เน้น (non-emphatic) โดยมีคำปฏิเสธที่ได้รับการสืบสร้างต่อไปนี้

คำ ความหมาย ภาษาไทย เทียบอังกฤษ
*pajB ปฏิเสธสมบูรณ์ ไป่ not yet
*ɓawB ปฏิเสธไม่สมบูรณ์ (เน้น) บ่ not
*mi:A ปฏิเสธไม่สมบูรณ์ มิ หรือ ไม่ (ไม่เน้น) not

ความแตกต่างระหว่าง *ɓawB และ *mi:A ยังไม่ชัดเจน อาจเป็นไปได้ว่ามีความแตกต่างระหว่างความเน้นกับความไม่เน้น ในลิลิตพระลอ พบว่ามีการใช้คำว่า บ่ ในการปฏิเสธแบบเน้น และใช้ มิ ในการปฏิเสธแบบไม่เน้น ดังนั้นเป็นไปได้ว่า *ɓawB เป็นคำปฏิเสธแบบเน้นในภาษาไทดั้งเดิม และ *mi:A เป็นคำปฏิเสธแบบไม่เน้น ในภาษาตระกูลไทปัจจุบันพบว่าเส้นแบ่งระหว่างปฏิเสธแบบสมบูรณ์กับไม่สมบูรณ์ค่อย ๆ จางลง มีเพียงบางภาษาเท่านั้นที่ยังรักษาความแตกต่างระหว่างสองแบบนี้

หน่วยคำ

[แก้]

สรรพนาม

[แก้]
บุคคล พจน์ ไทดั้งเดิม อักษรไทย
ที่ 1 เอกพจน์ *ku กู
ทวิพจน์ *ra รา
พหูพจน์ *rau, *tu เรา, ตู
ที่ 2 เอกพจน์ *mɯŋ มึง
พหูพจน์ *su สู
ที่ 3 เอกพจน์ *man มัน
พหูพจน์ *khau เขา

คำศัพท์

[แก้]

ศัพท์ภาษาไทดั้งเดิม:[15]

เลขที่ อังกฤษ ไทดั้งเดิม > แปรไทย ความหมายภาษาไทย
1 head (1) *krawᶜ เกร้า หัว
2 head (2) *truəᴬ ตรัว =หัว
3 hair, head *prɤmᴬ เพริม ผม
4 knot, hair *klawᶜ เกล้า
5 hair, body; feather *q.pɯlᴬ ก.ปึล ขน
6 gray-haired *ʰŋwuːkᴰ หฺงูก หงอก
7 forehead *praːkᴰ ปราก หน้า”ผาก”
8 nose *ɗaŋᴬ อฺดัง จมูก
9 mucus of the nose *muːkᴰ มูก น้ำ”มูก”
10 face *ʰnaːᶜ หฺน้า หน้า
11 eye *p.taːᴬ ป.ตา ตา
12 mouth *paːkᴰ ปาก ปาก
13 tongue *liːnᶜ ลี้น(เสียงโท) ลิ้น
14 tooth *wanᴬ วัน ฟัน
15 gum; gill *ʰŋɯəkᴰ เหฺงือก เหงือก
16 saliva *laːjᴬ ลาย น้ำ”ลาย”
17 cheek *keːmᶜ เก้ม แก้ม
18 ear *krwɯːᴬ กฺรฺวือ หู
19 fang *χeːwᶜ เฃี้ยว เขี้ยว
20 chin, jaw *ɢaːŋᴬ คาง(~กาง) คาง
21 beard *momᴮ ม่ม(เสียงเอก) เครา
22 neck *ɣoːᴬ โฅ คอ
23 goiter *ʰniəŋᴬ เหฺนียง(เสียงสามัญ) เหนียง
24 shoulder *C̥.baːᴮ ?.บ่า บ่า
25 arm *qeːnᴬ เกน แขน
26 elbow *C̬.swoːkᴰ ?.โสฺวก ศอก
27 hand *mwɯːᴬ มฺวือ มือ
28 finger, toe *niːwᶜ นี้ว(เสียงโท) นิ้ว
29 fingernail, toenail *C̬.lepᴰ ?.เล็บ เล็บ
30 joint *χoːᶜ โฃ้ ข้อ
31 leg *p.qaːᴬ ป.กา ขา
32 knee *χowᴮ ฃ่ว เข่า
33 shin, lower leg *ɣeːŋᴮ แฅ่ง(เสียงเอก) แข้ง
34 foot *tiːnᴬ ตีน ตีน
35 heel *sɤnᶜ เสิ้น ส้น
36 chest *ʔɤkᴰ เอิก อก
37 back *ʰlaŋᴬ หฺลัง(เสียงสามัญ) หลัง
38 waist (1) *ˀjeːwᴬ เอฺยว =เอว
39 waist (2) *C̥.wɯǝtᴰ ?.เวือด เอว
40 stomach, belly *dwuːŋᶜ ดฺวู้ง(เสียงโท) ท้อง
41 navel (1) *ɗwɯːᴬ อฺดฺวือ =สะ”ดือ”
42 navel (2) *ɓliːᶜ อฺบฺลี้ สะดือ
43 buttock *konᶜ ก้น
44 hair, pubic *ʰmwuːjᴬ หฺมฺวูย(เสียงสามัญ) ขนที่ลับ
45 vagina *hiːᴬ ฮี ช่องคลอด
46 penis *ɣwajᴬ ไฅว องคชาติ
47 testicles *tram ตรัม อัณฑะ
48 pubic mound *ʰnawᴮ หฺน่าว(เสียงสามัญ) หัว”หน่าว”
49 urine *niəwᴮ เนี่ยว(เสียงเอก) เยี่ยว
50 excrement *C̬.qɯjᶜ ?.กื้ย ขี้
51 fart *k.tɤtᴰ ก.เติด ตด
52 bone *C̥.dukᴰ ?.ดุก กระดูก
53 marrow, bone *ʔwuːkᴰ อฺวูก ไขกระดูก
54 tendon *ˀjenᴬ เอฺย็น เอ็น
55 side, ribs *k.raːŋᶜ ก.ร้าง(เสียงโท) ซี่”โครง”
56 blood *lɯətᴰ เลือด
57 meat, flesh *n.mɤːᶜ น.เม้อ(เสียงโท) เนื้อ
58 skin *ʰnaŋᴬ หฺนัง(เสียงสามัญ) หนัง
59 sweat *r.tɯəᴮ ร.เตื่อ เหงื่อ
60 pus *ʰnoːŋᴬ โหฺนง(เสียงสามัญ) หนอง
61 impetigo *kritᴰ กริด หิด
62 wound *ɓaːtᴰ อฺบาด “บาด”แผล
63 scurf *ɣɯjᴬ ฅืย ขี้”ไคล”
64 brain *ʔeːkᴰ เอก สมอง
65 heart, breath *cɤɰᴬ ใจ(เจอ~อือ) หัว”ใจ”
66 lung *pwɤtᴰ เปฺวิด ปอด
67 intestine *sajᶜ ไส้
68 liver *tapᴰ ตับ ตับ
69 spleen *maːmᶜ ม้าม(เสียงโท) ม้าม
70 gall bladder, bile *ɓliːᴬ อฺบฺลี น้ำ”ดี”
71 illness, fever *k.raj ก.ไร ไข้
72 cold (n.) *q.watᴰ ก.วัด หวัด
73 epidemic *raːᴮ ร่า(เสียงเอก) ห่า=โรคระบาด
74 kidney-stones *ʰniːwᶜ หฺนี้ว นิ่ว
75 dog *ʰmaːᴬ หฺมา(เสียงสามัญ) หมา
76 pig *ʰmuːᴬ หฺมู(เสียงสามัญ) หมู
77 mouse, rat *ʰnuːᴬ หฺนู(เสียงสามัญ) หนู
78 water buffalo *ɣwaːjᴬ ฅวาย ควาย
79 horse *maːᶜ ม้า(เสียงโท) ม้า
80 bear *ʰmwɯjᴬ หฺมฺวึย(เสียงสามัญ) หมี
81 jackal *nwajᴬ ไนฺว หมา”ไน”
82 elephant *ɟaːŋᶜ ช้าง(เสียงโท) ช้าง
83 deer *kwɯəŋᴬ เกวือง กวาง
84 antelope *waːlᴬ วาล ฟาน=เก้ง
85 monkey *liːŋᴬ ลีง ลิง
86 ape *kaŋᴬ กาง ค่าง
87 flying squirrel *baːŋᴮ บ่าง
88 squirrel *roːkᴰ โรก กระรอก
89 porcupine *ʰmenᶜ เหฺม้น เม่น
90 civet cat *ʰɲelᴬ เหฺญ็ล(เสียงสามัญ) อี”เห็น” และรวมไปถึงชะมด
91 otter *naːkᴰ นาก
92 pangolin *lilᴮ ลิ่ล(เสียงเอก) ลิ่น
93 chicken *kajᴮ ไก่
94 hen, young *C̬.qɤːŋᴮ ?.เก่อง ไก่หนุ่ม
95 duck *pitᴰ ปิด เป็ด
96 goose *haːnᴮ ห่าน
97 bird *C̬.nokᴰ ?.นก นก
98 crow *kaːᴬ กา
99 swallow (n.) *ʔeːnᴮ เอ่น นกนาง”แอ่น”
100 owl *gawᶜ เค้า(เสียงโท ~เก้า) นก”เค้า”แมว และรวมไปถึงนกฮูก
101 hawk *lamᴮ ลั่ม(เสียงเอก) เหยี่ยว
102 fish *plaːᴬ ปลา
103 catfish *C̥.dokᴰ ?.ดก ปลา”ดุก”
104 shellfish *hoːjᴬ โฮย หอย
105 crab *pɯwᴬ ปึว ปู
106 shrimp *kuŋᴮ/C กุ่ง/กุ้ง กุ้ง
107 shrimp, small *ŋiəwᴬ เงียว กุ้งเล็ก
108 frog *kɤpᴰ เกิบ กบ
109 frog, small *krweːᶜ เกฺรฺว กบเล็ก
110 frog, tree *paːtᴰ ปาด
111 turtle *tawᴮ เต่า
112 tortoise, water *ʰwɯəᴬ เหฺวือ(เสียงสามัญ) ตะพาบ
113 snake *ŋwɯːᴬ งฺวือ งู
114 crocodile *ŋɯəkᴰ เงือก เงือก~>จระเข้
115 leech, land *daːkᴰ ดาก ทาก
116 leech, aquatic *pliːŋᴬ ปลีง ปลิง
117 bedbug *C̬.rɯətᴰ ?.เรือด เรือด
118 grasshopper *p.takᴰ ป.ตัก “ตั๊ก”แตน
119 mosquito *ɲuŋᴬ ญุง ยุง
120 wasp *b.twiːlᴬ บ.ตฺวีล แตน และรวมไปถึงต่อ
121 bee *toːᴮ ต่อ ผึ้ง
122 insect *m.leːŋᴬ ม.เลง แมลง
123 ant *mɤcᴰ เมิจ มด
124 termite *moːtᴰ โมด มอด~>ปลวก
125 worm *ʰnoːlᴬ หฺนอล(เสียงสามัญ) หนอน
126 earthworm *t.nɯəlᴬ ต.เนือล ไส้”เดือน”
127 gadfly *ʰlɯəkᴰ เหฺลือก เหลือบ
128 louse, head *trawᴬ เตรา เหา
129 tick *trepᴰ เตร็บ เห็บ
130 flea *ʰmatᴰ หฺมัด หมัด
131 louse, body *m.lelᴬ ม.เล็ล เล็น
132 louse, chicken *rwɤjᴬ เรฺว็ย ไร
133 spider *krwaːwᴬ กฺรฺวาว แมงมุม
134 coconut grub *ɗuəŋᶜ อฺด้วง ด้วง
135 stink bug *geːŋ1 เคง แมง”แคง”(ลาว)=มวนชนิดหนึ่ง
136 caterpillar *C̥.boŋᶜ ?.บ้ง บุ้ง
137 silkworm *moːnᶜ โม้น(เสียงโท) หนอนไหม
138 butterfly *ɓɤːj เอฺบ้อย แมงกำ”เบ้อ”(คำเมือง)=ผีเสื้อ
139 centipede *q.sipᴰ ก.สิบ ตะเข็บ
140 cockroach *saːpᴰ สาบ แมลง”สาบ”
141 horn *qawᴬ เกา เขา
142 tusk, ivory *ŋaːᴬ งา
143 wing (1) *wɯətᴰ เวือด ปีก
144 wing (2) *piːkᴰ ปีก
145 tail *trwɤːŋᴬ เตฺรฺวอง =หาง
146 scales, fish *klecᶜ เกล็จ เกล็ด
147 fishbone *kaːŋᶜ ก้าง
148 egg *qraj ไกร ไข่
149 gizzard *p.taɰᴬ ป.ใต(ตา~อือ) ไต~>กึ๋น
150 cockscomb *hoːnᴬ โฮน หงอน
151 cockspur *t.nɤːjᴬ ต.เนอย เดือย
152 hump of an ox *ʰnoːkᴰ โหฺนก หนอก
153 stinger (of a bee) *lajᴬ ไล เหล็ก”ใน”
154 tree, wood *mwajᶜ ไมฺว้(เสียงโท) ไม้
155 leaf *ɓaɰᴬ ใอฺบ(อฺบา~อือ) ใบ
156 leaf for wrapping (big) *k.toːŋᴬ ก.โตง ใบ”ตอง” ในที่นี้หมายความว่า ใบไม้ใบใหญ่ใช้สำหรับห่อ
157 flower *ɓloːkᴰ โอฺบฺลก “ดอก”ไม้
158 banana blossom *pliːᴬ ปลี
159 stem *kaːnᶜ ก้าน
160 peel, bark *plɯəkᴰ เปลือก
161 husk *kaːpᴰ กาบ
162 thorn *ʰnaːmᴬ หฺนาม(เสียงสามัญ) หนาม
163 fruit *ʰmaːkᴰ หฺมาก หมาก~>ผลไม้
164 sheath, pod *q.wakᴰ ก.วัก ฝัก
165 grain *m.lecᴰ ม.เล็จ เมล็ด
166 stump *toːᴬ โต ตอ
167 root *C̬.raːkᴰ ?.ราก ราก
168 clump (as of bamboo) *koːᴬ โก กอ
169 sprout, shoot *ʰnoːᴮ โหฺน่ หน่อ
170 bamboo shoot *r.naːŋᴬ ร.นาง หน่อไม้
171 ear (of rice) *rwɯːŋᴬ รฺวืง รวง
172 rice *C̬.qawᶜ ?.เก้า ข้าว
173 seedling, rice *klaːᶜ กล้า
174 rice, husked *saːlᴬ สาล(เสียงสามัญ) ข้าว”สาร”
175 millet *ʰwɯǝŋᶜ เหฺวื้อง ข้าว”ฟ่าง”
176 resin *ˀjaːŋᴬ อฺยาง ยาง
177 banana *kluəjᶜ กล้วย
178 sugarcane *ʔoːjᶜ โอ้ย อ้อย
179 bamboo *prajᴮ ไปร่ ไผ่
180 cucumber, melon *p.rweːŋᴬ ป.เรฺวง แตง
181 ashgourd *wakᴰ วัก ฟัก
182 wild olive *koːkᴰ โกก มะ”กอก”
183 starfruit *ɢwɯəŋᴬ เควือง มะ”เฟือง”
184 plum *manᶜ มั้น(เสียงโท) พลัม
185 pomelo *buːkᴰ บูก ส้มโอ
186 acacia *geːᴬ เค แค และรวมไปถึงกระถิน
187 banyan *rajᴬ ไร ไทร
188 vegetable *prakᴰ พรัก ผัก
189 morning glory *ɓuŋᶜ อฺบุ้ง ผัก”บุ้ง”
190 mustard green *kaːtᴰ กาด ผัก”กาด”
191 yam *manᴬ มัน
192 taro *prɯəkᴰ เปรือก เผือก
193 ginger *χiːŋᴬ ฃิง ขิง
194 galangal *xaːᴮ ข่า
195 sesame *r.ŋaːᴬ ร.งา งา
196 tea *ɟaːᴬ ชา
197 raisin *ʔitᴰ อิด ลูก”เกด”
198 rattan *C̥.waːjᴬ ?.วาย หวาย
199 reed *ʔoːᶜ โอ้ อ้อ
200 grass *ʰɲɯəᶜ เหฺญื้อ หญ้า
201 grass, thatch *ɣaːᴬ ฅา หญ้า”คา”
202 mushroom *ʰrwetᴰ เหฺร็ด เห็ด
203 fern *kuːtᴰ กูด ผัก”กูด”=เฟิร์น
204 duckweed *ʰneːᴬ เหฺน(เสียงสามัญ) แหน
205 moss, aquatic *dawᴬ เดา เทา(ลาว),เตา(คำเมือง)=สาหร่ายชนิดหนึ่ง
206 water *C̬.namᶜ ?.นํ้า(เสียงโท) นํ้า
207 fire *wɤjᴬ เวย ไฟ
208 flame *pleːwᴬ เปลว
209 smoke *ɣwanᴬ ฅวัน ควัน
210 soot *ʰmiːᶜ หฺมี้ เขม่า
211 firewood, hard *wɯːlᴬ วืล ฟืน
212 firewood, bamboo *ʰlɯəwᴬ เหฺลือว(เสียงสามัญ) ฟืนไม้ไผ่
213 ashes, leaf *brawᴮ เบร่า ขี้เถ้าใบไม้
214 ashes (wood) *dawᴮ เด่า เถ้า
215 iron (1) *ʰlekᴰ เหฺล็ก =เหล็ก
216 iron (2) *mwaːᴬ มฺวา เหล็ก
217 salt *klwɯəᴬ เกฺลฺวือ เกลือ
218 lye *ɗaŋᴮ อฺด่าง น้ำ”ด่าง”
219 grease, fat *manᴬ มัน ไข”มัน”
220 soil *tɯmᴬ ตึม ถม
221 earth *ɗin อฺดิน ดิน
222 sand *zwɯəjᴬ เซฺวือย ทราย
223 stone *triːlᴬ ตฺรีล หิน
224 dry land *ɓokᴰ อฺบก บก
225 wild *C̬.tɯənᴮ ?.เตื่อน เถื่อน
226 forest *ɗoŋᴬ อฺดง ดง
227 grove, wood *paːᴮ ป่า
228 place, ground *diːᴮ ดี่ ที่
229 mountain *C̥.doːjᴬ ?.โดย ดอย
230 mountain, stone *praːᴬ ปรา ผา
231 cave *cramᶜ จรั้ม ถ้ำ
232 hole *ruːᴬ รู
233 hole, crack *ɟoːŋᴮ โช่ง(เสียงเอก) ช่อง
234 pit *C̬.kumᴬ ?.กุม ขุม
235 well, spring *ɓoːᴮ โอฺบ่ บ่อ
236 stream, mountain *qrwɤjᶜ เกฺรฺวิ้ย ห้วย
237 creek *roːŋᴮ โร่ง(เสียงเอก) ร่อง
238 river *daːᴮ ด่า ท่า~>แม่น้ำ
239 bank, river *ʰwaŋᴮ หฺวั่ง ฝั่ง
240 beach, sandbar *haːtᴰ หาด
241 mud *lɤmᴮ เหลิ่ม “หล่ม”โคลน
242 moon, month *ɓlɯənᴬ เอฺบฺลือน เดือน
243 star (general) *t.naːwᴬ ต.นาว =ดาว
244 star (in the sky) *ɗiːᴮ อฺดี่ ดาว
245 moonlight *ʰŋaːjᴬ หฺงาย(เสียงสามัญ) แสงจันทร์(ในคำว่า คืนเดือนหงาย)
246 sunshine *C̥.dwiːtᴰ ?.ดฺวีด แดด
247 cloud *ʰwɯəᶜ เหฺวื้อ =ฝ้า~>เมฆ
248 fog *ʰmoːkᴰ หฺมอก หมอก
249 wind *C̬.lɯmᴬ ?.ลึม ลม
250 sky, heaven *ɓɯnᴬ อฺบึน บน
251 sky, weather *vaːᶜ ฟ้า(เสียงโท) ฟ้า
252 rain *C̥.wɯnᴬ ?.วึน ฝน
253 gust (of rain) *kraːᴮ กร้า “ห่า”ฝน
254 lightning *m.leːpᴰ ม.เลบ ฟ้า”แลบ”~>ฟ้าผ่า
255 thunder *praːᶜ ปร้า(เสียงโท) ฟ้า”ผ่า”~>ฟ้าร้อง
256 hoarfrost *ʰmɯǝjᴬ เหฺมือย(เสียงสามัญ) เหมย=น้ำค้างแข็ง
257 dew, mist *C̬.nwaːjᴬ ?.นฺวาย น้ำค้าง(มีในสำนวนว่า ตากแดดตากนาย นาย=น้ำค้าง)
258 hail *trepᴰ เตฺร็บ ลูก”เห็บ”
259 steam, vapor *s.ʔwɤːjᴬ ส.เอฺวอย =“ไอ”น้ำ
260 shade *rɤmᴮ เร่ิม ร่ม
261 shadow, reflection *ŋawᴬ เงา
262 dry season *C̬.leːŋᶜ ?.เล้ง(เสียงโท) แล้ง
263 father, man *boːᴮ โบ่ พ่อ
264 mother; woman *meːᴮ เม่(เสียงเอก) แม่
265 sibling, older *biːᴮ บี่ พี่
266 sibling, younger *nwoːŋᶜ โนฺว้ง น้อง
267 grandfather, paternal *pɯwᴮ ปื่ว ปู่
268 grandfather, maternal *taːᴬ ตา
269 grandmother, maternal *naːjᴬ นาย ยาย
270 child (offspring) *lɯːkᴰ ลืก ลูก
271 great-grandparent *ɟɯəᶜ เชื้อ(เสียงโท) เชื้อ=บรรพบุรุษ
272 nephew, niece, or grandchild *ʰlaːnᴬ หฺลาน(เสียงสามัญ) หลาน
273 great-grandchild *ʰlenᶜ เหฺล้น(เสียงโท) เหลน
274 parent's older brother *luŋᴬ ลูง ลุง
275 parent's older sister *paːᶜ ป้า
276 father's younger sister *ʔaːᴬ อา อา(หญิง)
277 mother's younger sibling *naːᶜ น้า(เสียงโท) น้า
278 father's younger brother *ʔaːwᴬ อาว อา(ชาย)
279 wife of man's younger brother *lɯǝwᴬ เลือว น้องสะใภ้
280 wife *miəᴬ เมีย
281 son-in-law *C̬.kɯəjᴬ ?.เกือย เขย
282 daughter-in-law *baɰᶜ ใบ้(บ้า~อื้อ) สะ”ใภ้”
283 person, human being *ɢwɯnᴬ ควืน คน
284 child (young person) *ɗekᴰ เอฺด็ก เด็ก
285 man, male *ʑaːjᴬ ฌาย ชาย
286 unmarried man *ɓaːwᴮ อฺบ่าว บ่าว~>หนุ่มโสด
287 unmarried woman *saːwᴬ สาว(เสียงสามัญ) สาวโสด
288 girl *ɓɯːkᴰ อฺบืก เด็กหญิง
289 lady *naːŋᴬ นาง ผู้หญิง
290 related by marriage *t.noːŋᴬ ต.โนง เกี่ยว”ดอง”กัน
291 widowed *ʰmaːjᶜ หฺม้าย หม้าย
292 orphan *gm̩.raːᶜ คฺม-ร้า(เสียงโท) กำพร้า
293 name *ɟɤːᴮ ชื่อ(เสียงเอก) ชื่อ
294 master, owner *ɕɤwᶜ ~เชิ้ว(เสียงโท) เจ้า
295 slave (1) *χɔːjᴮ ฃ้อย ข้า
296 slave (2) *kraːᶜ กร้า =ข้า
297 Vietnamese *keːwᴬ เกว แกว=คนเวียดนาม
298 shaman *ʰmoːᴬ โหฺม(เสียงสามัญ) หมอ
299 spirit (1) *priːᴬ ปรี ผี
300 spirit (2) *mwaːŋᴬ มฺวาง สาง?=ผี
301 soul; whorl in the hair *qwanᴬ กวัญ ขวัญ
302 village *ɓaːnᶜ อฺบ้าน หมู่”บ้าน”
303 township *mɯəŋᴬ เมือง
304 debt *ʰniːᶜ หฺนี้ หนี้
305 liquor *ʰlawᶜ เหฺล้า เหล้า
306 medicine *ˀjɯəᴬ เอฺยือ ยา
307 vinegar *ʰmiːᴮ หฺมี่ น้ำส้มสายชู
308 flour *ɓɯəᴬ เอฺบือ แป้ง
309 house *rɤːnᴬ เริน เรือน=บ้าน
310 granary *ˀjɯǝwᶜ เอฺยื้อว “ยุ้ง”ฉาง
311 stake *ʰlakᴰ หฺลัก หลัก
312 eaves *ʑaːjᴬ ฌาย “ชาย”คาบ้าน
313 door *tuːᴬ ตู ประตู
314 stairs, ladder *ɗrwajᴬ ไอฺดฺรฺว บัน”ได”
315 pillar *sawᴬ เสา
316 partition, lid *hwaːᴬ หฺวา(เสียงสามัญ) ฝา
317 split bamboo flooring *waːkᴰ วาก ฟาก=พื้นไม้ไผ่
318 window *taːŋᴮ ต่าง หน้า”ต่าง”
319 stool *taŋᴮ ตั่ง
320 tripod *giǝŋᴬ เคียง ขาตั้ง
321 board *peːnᶜ เป้น แผ่น
322 thing *χɔːŋᴬ ฃอง(เสียงสามัญ) ของ
323 knife *mitᴰ มิด มีด
324 machete, big knife *ɟm̩.raːᶜ ชฺม.ร้า(เสียงโท) พร้า
325 chopping board *χiəŋᴬ เฃียง(เสียงสามัญ) เขียง
326 spear *kroːkᴰ กรอก หอก
327 crossbow *ʰnwɯəᶜ เหฺนื้อ “หน้า”ไม้
328 axe *xwaːnᴬ ขวาน(เสียงสามัญ) ขวาน
329 chisel *siəwᴮ เสี่ยว สิ่ว
330 hook *xɔːᴬ ขอ(เสียงสามัญ) ตะขอ
331 pliers, thongs *giːmᴬ คีม คีม
332 handle (of a knife) *ɗaːmᶜ อฺด้าม ด้าม
333 handle, rod *galᴬ คัล คัน เช่น คันเบ็ด
334 carrying pole (1) *traːpᴰ ตราบ หาบ
335 carrying pole (2) *ɢaːnᴬ คาน คาน
336 rope, cord *ɟɤːk เชอก เชือก
337 top for spinning *k.raːŋᴮ ก.ร่าง(เสียงเอก) ลูก”ข่าง”
338 basin *ʔaːŋᴮ อ่าง
339 jug *krajᴬ ไกร ไห
340 pot *ʰmoːᶜ โหฺม้ หม้อ
341 tube, bamboo *baŋᴮ/C บั่ง/บั้ง บ้อง?
342 bag *croŋᴬ จรง ถุง
343 cane for walking *dawᶜ เด้า ไม้”เท้า”
344 comb *ʰrwɯːjᴬ หฺรฺวืย(เสียงสามัญ) หวี
345 writing, book *sɯːᴬ สือ หนัง”สือ”หรืองานเขียน
346 broom *ɲuːᴬ ญู ไม้กวาด
347 thread (1) *C̥.daːjᶜ ?.ด้าย ด้าย
348 thread (2) *ʰmajᴬ ไหฺม(เสียงสามัญ) ด้าย
349 hemp *paːnᴮ ป่าน
350 loom *trukᴰ ตรุก หูก
351 shuttle of loom *p.rawᴮ ป.เร่า(เสียงเอก) กระสวย
352 spool *ʰlwuːtᴰ หฺลฺวูด หลอด
353 indigo (1) *g.raːmᴬ ค.ราม คราม
354 indigo (2) *kromᶜ กร้ม ม่อ”ห้อม”~>คราม
355 bamboo strip for tying or weaving *b.twuːkᴰ บ.ตฺวูก “ตอก”ไม้ไผ่
356 needle *qemᴬ เก็ม เข็ม
357 strand (of rope) *kliəwᴬ เกลียว
358 lacquer *rakᴰ รัก ยาง”รัก”
359 bamboo hat *klɤpᴰ เกลิบ กุบ=หมวกไม้ไผ่
360 puppet, marionette *hunᴮ หุ่น
361 marking, patterns *C̬.laːjᴬ ?.ลาย ลาย
362 field, paddy *naːᴬ นา
363 field, dry *rɤjᴮ เร่ย ไร่
364 field, open *doŋᴮ ด่ง ทุ่ง
365 garden *swɯːnᴬ สฺวูน(เสียงสามัญ) สวน
366 ditch *ʰmɯəŋᴬ เหฺมือง(เสียงสามัญ) คูน้ำ
367 dike between rice fields *ɣalᴬ ฅัล “คัน”นา
368 dam *hwaːjᴬ หฺวาย(เสียงสามัญ) ฝาย
369 water pipe *linᴬ ลิน ท่อน้ำ
370 plough *crwajᴬ ไจฺรฺว ไถ
371 yoke *ʔeːkᴰ เอก แอก
372 yoke, part of *ʔoːŋᶜ โอ้ง อ้อง(ลาว)=ส่วนประกอบหนึ่งของแอก
373 mortar (1) *grokᴰ ครก =ครก
374 mortar (2) *ʰrumᴬ หฺรุม(เสียงสามัญ) ครก
375 pestle *saːkᴰ สาก
376 winnowing basket *ɗoŋᶜ อฺด้ง กระด้ง
377 bran *ramᴬ รำ “รำ”ข้าว
378 straw, stubble *wɯǝŋᴬ เวือง ฟาง
379 fish hook *ɓetᴰ เอฺบ็ด เบ็ด
380 fish net *kreːᴬ เกร แห
381 fish trap *zajᴬ ไซ
382 snare *reːwᶜ เร้ว(เสียงโท) แร้ว=บ่วงดักสัตว์
383 gutter, trough *rwɯəŋᴬ เรฺวือง ราง
384 cooked in bamboo tube *ʰlaːmᴬ หฺลาม(เสียงสามัญ) หลาม=การประกอบอาหารในกระบอกไม้ไผ่
385 boat *C̬.rwɯəᴬ ?.เรฺวือ เรือ
386 raft *beːᴬ เบ แพ
387 road *ʰrwɤnᴬ เหฺรฺวิน(เสียงสามัญ) ถนน
388 track *rwuːjᴬ รฺวูย รอย
389 saddle *ʔaːnᴬ อาน
390 drum *kloːŋᴬ โกลง กลอง
391 red *C̥.dwiːŋᴬ ?.ดวีง แดง
392 black *C̥.damᴬ ?.ดำ ดำ
393 white *xaːwᴬ ขาว
394 green *xiəwᴬ เขียว
395 yellow *ʰlɯəŋᴬ เหฺลือง(เสียงสามัญ) เหลือง
396 dark (red) *klamᴮ กล่ำ แดงก่ำ
397 gray *ʰmoːŋᴬ โหฺมง(เสียงสามัญ) หมอง~>เทา
398 white-spotted *ɓlaːŋᴮ อฺบฺล่าง(เสียงเอก) จุด”ด่าง”
399 clear, clean *saɰᴬ ใส(สา~อือ)(เสียงสามัญ) ใส
400 dark *mɯːtᴰ มืด
401 bright, light (n.) *roŋᴮ ร่ง(เสียงเอก) รุ่ง~>สว่าง
402 thin (not fat) *proːmᴬ โปรม ผอม
403 fat *bwiːᴬ บฺวี พี=อ้วน
404 long *rɯjᴬ รืย รี~>ยาว
405 short (not long) *tinᴮ ติ่น สั้น,ไม่ยาว
406 big (1) *ʰluəŋᴬ หฺลวง(เสียงสามัญ) ใหญ่
407 big (2) *ɓɯːkᴰ อฺบืก ใหญ่ (ปลาบึก?/บึกบึน?)
408 small *noːjᶜ น้อย(เสียงโท) เล็ก
409 low, short (not tall) *tamᴮ ต่ำ ต่ำ,ไม่สูง
410 heavy *ʰnakᴰ หฺนัก หนัก
411 light (in weight) *C̥.bawᴬ ?.เบา เบา
412 thick *ʰnaːᴬ หฺนา(เสียงสามัญ) หนา
413 thin (not thick) *C̥.baːŋᴬ ?.บาง บาง,ไม่หนา
414 new *ʰmɤːlᴮ เหฺม่อล ใหม่
415 old (of living beings) *keːᴮ เก่ แก่
416 old (of things) *kawᴮ เก่า
417 senior *crawᶜ เจฺร้า ผู้”เฒ่า”
418 young, soft *ʔwuːnᴮ อฺวู่น =อ่อน,เด็กกว่า
419 raw, not ripe *C̥.dipᴰ ?.ดิบ ดิบ,ยังไม่สุก
420 hard *k.reːŋᴬ ก.เรง แข็ง
421 coarse, tough *ʰɲaːpᴰ หฺญาบ หยาบ
422 deep *lɤkᴰ เลิก ลึก
423 loose *ʰloːmᴬ โหฺลม(เสียงสามัญ) หลวม
424 tight, narrow *gapᴰ คับ คับ
425 steep *ʰliŋᴮ หฺลิ่ง ตลิ่ง?~>ชัน
426 stuck *gaːᴬ คา คา,ติดอยู่
427 straight *zɤːᴮ เซิ่อ ซื่อ~>ตรง
428 crooked *gotᴰ2 คด คด,ไม่ตรง
429 hot *rwuːlᶜ รฺวู้ล(เสียงโท) ร้อน
430 warm *ʔunᴮ อุ่น
431 blind *ɓoːtᴰ อฺบอด ตา”บอด”
432 night blind *ʰwaːŋᴬ หฺวาง(เสียงสามัญ) ตา”ฟาง”
433 deaf *ʰnuəkᴰ หฺนวก หู”หนวก”
434 bitter *C̬.qɤmᴬ ?.เกิม ขม
435 astringent in taste *ʰwɯətᴰ เหฺวือด ฝาด
436 sour *sɤmᶜ เสิ้ม ส้ม~>เปรี้ยว
437 sweet, delicious *C̥.waːlᴬ ?.วาล หวาน
438 insipid *cɯːtᴰ จืด
439 core *keːlᴮ เก่ล แก่น,ใจกลาง
440 fragrant *hoːmᴬ โหม(เสียงสามัญ) หอม
441 stinky *ʰmenᴬ เหฺม็น(เสียงสามัญ) เหม็น
442 putrid *xwiːwᴬ ขวีว เหม็น”เขียว”~>เหม็นเน่า
443 fishy *ɣaːwᴬ ฅาว คาว
444 empty *plɤwᴮ เปลิ่ว เปล่า
445 full *k.temᴬ ก.เต็ม เต็ม
446 deficient *broːŋᴮ โบร่ง พร่อง
447 good *ɗɤjᴬ เอฺดย ดี
448 bad *rwɤːjᶜ เรฺว้อย ร้าย
449 long (of time) *hɤŋᴬ เหิง หึง=เวลานาน
450 slow *naːnᴬ นาน นาน~>ช้า
451 late *ʰlaːᶜ หฺล้า “ล่า”ช้า=สาย
452 near *k.raɰᶜ ก.ใร้(ร่า~อื้อ) ใกล้
453 far *k.lajᴬ ก.ไล ไกล
454 face down *qwamᶜ กว้ำ คว่ำ
455 face up *ʰŋaːjᴬ หฺงาย(เสียงสามัญ) หงาย
456 sharp-pointed *ʰleːmᴬ เหฺลม(เสียงสามัญ) แหลม
457 sharp, sharp edge *ɣɤmᴬ เฅิม คม
458 slippery, smooth *m.lɯːlᴮ ม.ลื่ล(เสียงเอก) ลื่น
459 sticky *ʰniəwᴬ เหฺนียว(เสียงสามัญ) เหนียว
460 liquid, soft *ʰleːwᴬ เหฺลว(เสียงสามัญ) เหลว
461 rotten *nawᴮ เน่า(เสียงเอก) เน่า
462 withered *ʰriəwᴮ เหฺรี่ยว เหี่ยว
463 dried up *ʰreːŋᶜ เหฺร้ง แห้ง
464 dry *χaɰᴮ ใฃ้(ฃ้า~อื้อ) น้ำ”ไข้”=น้ำแห้ง
465 wet *domᴬ ดม เปียก
466 mute *ŋwamᶜ งฺวำ เงียบ”งัน”?
467 dumb *ɓɤɰᶜ ใอฺบ้(เอฺบ้อ-อื้อ) บ้า”ใบ้” ในที่นี้แปลว่า โง่,ปัญญาอ่อน
468 easy *ŋaːjᴮ ง่าย(เสียงเอก) ง่าย
469 drunk (1) *mawᴬ เมา
470 drunk (2) *mwiːᴬ มฺวี เมา
471 sterile *ʰmanᴬ หฺมัน(เสียงสามัญ) หมัน
472 entangled *ɲuŋᴮ/C ญุ่ง(เสียงเอกหรือโท) ยุ่ง
473 blistered *boːŋᴬ โบง พอง
474 expensive *beːŋᴬ เบง แพง
475 familiar *gunᶜ คุ้น(เสียงโท) คุ้น
476 asleep *ɗakᴰ อฺดัก หลับ
477 hungry *ˀjɯǝkᴰ เอฺยือก อยาก~>หิว
478 satiated *ʔiːmᴮ อิ่ม
479 swollen *gaɰᴮ ใค่(ค่า~อื่อ)(เสียงเอก) ไค่(ลาว)=บวม
480 stiff and tired *mɯəjᴮ เมื่อย(เสียงเอก) เมื่อย
481 tired, exhausted *ʰnɯəjᴮ เหฺนื่อย เหนื่อย
482 lazy *kliːkᴰ กลีก ขี้”เกียจ”
483 tired, bored *ʰnaːjᴮ หฺน่าย หน่าย
484 idle, free *ɗwɤːjᴬ อฺดฺวืย =ดาย~>ว่าง,อยู่เฉย ๆ ไม่ได้ทำอะไร
485 disgusted *ɓɯəᴮ เอฺบื่อ เบื่อ
486 crazy *ɓaːᶜ อฺบ้า บ้า
487 hurt (1) *cepᴰ เจ็บ
488 hurt (2) *keːtᴰ เกด =ปวด?
489 torn *qaːtᴰ กาด ขาด
490 plugged *sakᴬ สัก เสียบ
491 bruised (1) *ɟamᶜ ช้ำ(เสียงโท) ช้ำ
492 bruised (2) *wokᴰ วก ฟก
493 lost *ʰloŋᴬ หฺลง(เสียงสามัญ) หลง
494 alive *ɲaŋᴬ ญัง ยัง~>มีชีวิต,ยังไม่ตาย
495 strong, strength *reːŋᴬ เรง แรง
496 weave, to (cloth) *tamᴮ ตำ “ตำ”ผ้า=ทอผ้า
497 dye, to *ɲwuːmᶜ ญฺวู้ม(เสียงโท) ย้อม
498 sew, to *ɲepᴰ เญ็บ เย็บ
499 embroider, to *seːwᴮ เส่ว ปัก
500 weave, to (baskets, mats) *saːn สาน(เสียงสามัญ) สาน
501 sow, to; scatter, to *C̥.waːlᴮ ?.ว่าล(เสียงเอก) หว่าน
502 transplant, to *t.namᴬ ต.นำ “ดำ”นา
503 plant, to *plwɯːkᴰ ปฺลวืก ปลูก
504 sift, to *qrɤŋᴬ เกฺริง กร่อน
505 imprison, to *k.raŋᴬ ก.รัง ขัง
506 hunt, to *p.rawᴮ ป.เร่า(เสียงเอก) การ”ล่า”
507 mark, to; aim, to *ʰmaːjᴬ หฺมาย(เสียงสามัญ) หมาย
508 shoot, to *ɲɯŋᴬ ญึง ยิง
509 poison (fish), to *C̥.bɯəᴬ ?.เบือ ยา”เบื่อ”,พิษ
510 tend animal, to *ɟɯǝŋᶜ เชื้อง(เสียงโท) การทำให้สัตว์เชื่อง
511 raise, to *liəŋᶜ เลี้ยง(เสียงโท) เลี้ยง
512 make noise, to *ɗaŋᴬ อฺดัง เสียง”ดัง”
513 differ, to *taːŋᴮ ต่าง แตก”ต่าง”
514 count, to *napᴰ นับ
515 heap up, to *koːŋᴬ โกง กอง~>นึกคิด?
516 weigh, to *ɟaŋᴮ ชั่ง(เสียงเอก) “ชั่ง”น้ำหนัก
517 announce, to *paːwᴮ ป่าว “ป่าว”ประกาศ
518 answer, to *χaːnᴬ ฃาน(เสียงสามัญ) “ขาน”รับ,ตอบรับ
519 ask, to *c.raːmᴬ จ.ราม ถาม
520 beg, to *k.roːᴬ ก.โร ขอ
521 order, to; blow the nose, to *saŋᴮ สั่ง “สั่ง”งาน,”สั่ง”น้ำมูก
522 scold, to; revile, to *ɗaːᴮ อฺด่า ด่า
523 warn, to *tɯǝnᴬ เตือน
524 weep, to *t.hajᶜ ต.ไห้ ร้อง”ไห้”
525 moan, to *graːŋᴬ คราง
526 bark, to *ʰrawᴮ เหฺร่า เห่า
527 crow, to *χalᴬ ฃัล การ”ขัน”ของไก่
528 laugh, to *krɯəwᴬ เกรือว “หัว”เราะ
529 recite, to *ʔaːnᴮ อ่าน
530 open (the mouth), to *ʔaːᶜ อ้า
531 eat, to *kɯɲᴬ กืญ กิน
532 chew, to *giəwᶜ เคี้ยว(เสียงโท) เคี้ยว
533 lick, to *C̬.lwiəᴬ ?.เลฺวีย เลีย
534 put out of the mouth, to *ɣaːjᴬ ฅาย คาย
535 vomit, to *rwɯəkᴰ เรฺวือก ลง”ราก”=อาเจียน
536 take a bite, to *katᴰ กัด
537 hold in the mouth, to *ʔɤmᴬ เอิม อม
538 bite, to *C̬.qɤpᴰ ?.เกิบ ขบ
539 nibble, to; peck, to *tɔːtᴰ ตอด
540 kiss, to *cuːpᴰ จูบ
541 yawn, to *ʰraːwᴬ หฺราว(เสียงสามัญ) หาว
542 blow, to *powᴮ ป่ว เป่า
543 snore, to *klɤlᴬ เกลิล กรน
544 cough, to *ʔajᴬ ไอ
545 hold the breath, to *klanᶜ กลั้น
546 hug, to; embrace, to *koːtᴰ โกด กอด
547 build, to *koːᴮ โก่ “ก่อ”สร้าง
548 close (the eyes), to *ʰlapᴰ หฺลับ “หลับ”ตา
549 lie down, to, sleep, to *nwɯːnᴬ นฺวืน นอน
550 incubate, to *wakᴰ วัก ฟัก
551 hold in the jaws, to *gaːpᴰ คาบ
552 hold in the closed hand, to *kamᴬ กำ การ”กำ”มือ
553 take up in the two cupped hands, to *koːpᴰ โกบ การ”กอบ”มือ
554 pick up, to *ˀjipᴰ อฺยิบ หยิบ
555 grasp, to; perch, to *capᴰ จับ
556 squeeze, to *galᶜ คั้ล(เสียงโท) คั้น
557 pinch, to *ʰniːpᴰ หฺนีบ หนีบ
558 raise, to *ɲɤkᴰ เญิก ยก
559 lift, to *ɲoːᴬ โญ ยอ
560 carry in the arms, to *ʔuːmᶜ อู้ม อุ้ม
561 carry (a bag), to *triːwᶜ ตริ้ว หิ้ว
562 carry on the back, to *trwaːmᴬ ตฺรฺวาม หาม
563 pull, to; drag, to *C̬.laːkᴰ ?.ลาก ลาก
564 bend over, to *kɤmᶜ เกิ้ม ก้ม
565 turn upside down or inside out, to *pliːnᶜ ปลิ้น
566 lean back, to *ʔiːŋᴬ อีง อิง
567 point, to *ɟiːᶜ ชี้(เสียงโท) ชี้
568 stroke, to; caress, to *C̬.luːpᴰ ?.ลูบ ลูบ
569 scratch, to *kawᴬ เกา
570 put, to *s.cɤːlᴮ ส.เจ่อล ใส่
571 snap, to *ɓliːtᴰ อฺบฺลีด ดีด
572 stamp (on), to *dɯːpᴰ ดืบ กระทืบ
573 step on, to (1) *ɲamᴮ ญ่ำ(เสียงเอก) ย่ำ
574 step on, to (2) *ˀjiǝpᴰ เอฺยียบ เหยียบ
575 repeat, to *zamᶜ ซ้ำ(เสียงโท) ซ้ำ
576 tremble, to *salᴮ สั่ล สั่น
577 shake, to *C̥.wajᴬ ?.ไว สั่น”ไหว”
578 wrestle, to *plamᶜ ปล้ำ
579 twist, to; wring, to *ɓitᴰ อฺบิด บิด
580 stretch out, to *ˀjiətᴰ เอฺยียด เหยียด
581 sit, to *naŋᴮ นั่ง(เสียงเอก) นั่ง
582 come, to *ʰmaːᴬ หฺมา(เสียงสามัญ) มา
583 go, to *pajᴬ ไป
584 arrive, to *C̬.tɤŋᴬ ?.เติง ถึง
585 go upward, to *mɯəᴬ เมือ เดินทางขึ้นไป
586 ascend to *χɯnᶜ ฃึ้น ขึ้น
587 descend, to *n̩.loŋᴬ น.ลง ลง
588 enter, to *χawᶜ เฃ้า เข้า
589 exit, to *ʔoːkᴰ โอก ออก
590 cross, to *χaːmᶜ ฃ้าม ข้าม
591 cross over, to *kwaːᴮ กว่า
592 drop, to *tokᴰ ตก
593 fall off, to *ʰlɤnᴮ หฺล่น หล่น
594 fall down, to *lɤmᶜ เลิ้ม(เสียงโท) ล้ม
595 slip and fall, to *blaːtᴰ บลัด พลัด
596 stand, to *C̥.ɟɯːnᴬ ?.ยืน ยืน
597 walk, to *praːjᶜ ปร้าย(เสียงโท) เดิน
598 fly, to *ɓilᴬ อฺบิล บิน
599 crawl, to *g.lwɤːnᴬ ค.เลฺวอน คลาน
600 crawl over, to *twajᴮ ไตฺว่ ไต่
601 climb, to *piːnᴬ ปีน
602 flow, to *ʰlwajᴬ ไหฺล(เสียงสามัญ) ไหล
603 flood, to *C̬.tuǝmᴮ ?.ต่วม ท่วม
604 spill, to *ɓaːᴮ อฺบ่า น้ำ”บ่า”
605 pour, to *rwaːtᴰ รฺวาด ราด
606 swim, to *loːjᴬ โลย ลอย~>ว่ายน้ำ
607 float, to *wuːᴬ วู ฟู~>ลอย
608 sink, to *cɤmᴬ เจิม จม
609 dive, to *ɗamᴬ อฺดำ ดำน้ำ
610 close, to *hapᴰ หับ ปิด
611 revolve, to; spin, to *panᴮ ปั่น ปั่น,หมุน
612 go hungry, to *ʔɤtᴰ เอิด อด
613 hate, to *ɟaŋᴬ ชัง เกลียดชัง
614 quit, to *ˀjaːᴮ อฺย่า “หย่า”ขาด,เลิก
615 see, to *tranᴬ ตรัน =เห็น
616 hear, to *ŋinᴬ งิน ได้”ยิน”
617 taste, to *ɟimᴬ ชิม
618 smell (tr.), to *ɗɤmᴬ เอฺดิม ดม
619 forget, to *lɯːmᴬ ลืม
620 dream, to *hwanᴬ หฺวัน(เสียงสามัญ) ฝัน
621 believe, to *ɟɯǝᴮ เชื่อ(เสียงเอก) เชื่อ
622 recognize, to *cakᴰ จัก รู้”จัก”
623 know, to *rɯːwᶜ รื้ว(เสียงโท) รู้
624 be, to; b̩ecome, to *m̩.pelᴬ ม.เป็ล เป็น
625 be (in a place), to *ˀjuːᴮ อฺยู่ อยู่
626 fear, to (1) *ʰlaːwᴬ หฺลาว =?กลัว
627 fear, to (2) *jaːnᶜ ย้าน(เสียงโท) ยั่น=กลัว,หวาดหวั่น
628 itch, to (1) *ɣalᴬ ฅัล =อาการ“คัน”
629 itch, to (2) *ɣomᴬ ฅม อาการคัน
630 seek, to *kraᴬ กรา หา
631 join, to *toːᴮ โต่ การ”ต่อ”เข้าด้วยกัน
632 divide, to *panᴬ ปาน ฝาน
633 separate, to *braːkᴰ บราก พราก
634 castrate, to *toːnᴬ โตน การตอน
635 cut, to *tacᴰ ตัจ ตัด
636 slash, to *walᴬ วัล การฟัน
637 chop, to *tramᶜ ตร้ำ =“ห้ำ”หั่น,สับ
638 weed, to *ɓlaːjᴬ อฺบฺลาย การ”ดาย”หญ้า/วัชพืช
639 break, to *t.rakᴰ ต.รัก หัก
640 burst, to *p.reːkᴰ ป.เรก แตก
641 pluck, to *C̥.decᴰ ?.เด็จ เด็ด
642 take down, to; put down, to *ploŋᴬ ปลง
643 peel, to *poːkᴰ โปก การปอก
644 hammer, to *ɣoːlᶜ โฅ้ล(เสียงโท) ค้อน
645 pound, to *tamᴬ ตำ การตำ
646 pound (rice), to *zoːmᶜ โซ้ม(เสียงโท) การ”ซ้อม”ข้าว
647 slap, to *tɤpᴰ เติบ ตบ
648 pound, to (2) *dupᴬ ดุบ ทุบ
649 pound, to (1) *toːkᴰ โตก การตอก
650 come into contact, to *C̬.tɯːkᴰ ?.ตืก =“ถูก”,แตะต้อง
651 tie, to *cm̩.rukᴰ จฺม.รุก ผูก
652 tie up, to *laːmᴮ ล่าม(เสียงเอก) การ”ล่าม”(มัดเข้าไว้ด้วยกัน)
653 undo, to; untie, to *keːᶜ เก้ แก้
654 fold, to *bapᴰ บับ พับ
655 fold double, to *dopᴰ ดบ ทบ
656 stretch, to *ɲɯːtᴰ ญืด ยืด
657 erect, to *taŋᶜ ตั้ง
658 plug (a hole), to *ʔwɯtᴰ อฺวืด อุด
659 salt, to *ʔɯǝpᴰ เอือบ เติมเกลือ
660 pickle, to *ɗoːŋᴬ โอฺดง หมัก”ดอง”
661 soak, to (2) *ʰmaːᴮ หฺม่า
662 scoop, to *takᴰ ตัก
663 soak, to (1) *ɟeːᴮ เช่(เสียงเอก) แช่
664 burn (intr.), to *ʰmajᶜ ไหฺม้ ไหม้
665 burn (tr.), to *prawᴬ เปรา เผา
666 roast, to *ˀjɯəŋᶜ เอฺยื้อง การ”ย่าง”(ด้วยไฟ)
667 boil (tr.), to *tomᶜ ต้ม
668 boil (intr.), to *ɗɤːtᴰ เอฺดอด เดือด
669 scald, to *luəkᴰ ลวก
670 cook (rice), to *truŋᴬ ตรุง หุง
671 steam, to *ʰnɯŋᶜ หฺนึ้ง นึ่ง
672 make a fire, to *ɗaŋᴬ อฺดัง “ดัง”ไฟ(คำเมือง/ลาว)=จุดไฟ
673 extinguish, to *ɗapᴰ อฺดับ ดับ
674 roof, to *mwuŋᴬ มฺวุง มุง
675 cover (with cloth), to *hɤmᴮ เหิ่ม ห่ม
676 deceive, to *braːŋᴬ บราง พราง
677 buy, to *z.ɟɯːᶜ ซ.ชื้อ(เสียงโท) ซื้อ
678 sell, to *p.qaːj ป.กาย ขาย
679 borrow, to *ˀjɯːmᴬ อฺยืม ยืม
680 defeat, to; be defeated, to *beːᶜ เบ้ แพ้~>ชนะ
681 have, to *miːᴬ มี
682 take, to *ʔawᴬ เอา
683 obtain, to *ɗajᶜ ไอฺด้ ได้
684 pick, to *kepᴰ เก็บ
685 steal, to *C̬.lakᴰ ?.ลัก ลัก
686 give, to *haɰᶜ ให้(ห้า~อื้อ) ให้
687 dust off, to *pacᴰ ปัจ ปัด
688 sweep, to *kwaːtᴰ กวาด
689 wipe, to *ɟetᴰ เช็ด
690 rinse, to *C.lwɤːŋᶜ ?.ลฺว้าง(เสียงโท) ล้าง
691 wash (clothes), to *zakᴰ ซัก
692 wash, to *zaːwᴬ ซาว การซาว
693 bathe, to *ʔaːpᴰ อาบ
694 teach, to *soːlᴬ โสล สอน
695 rest, to *bakᴰ บัก พัก
696 wait, to *craːᶜ จฺร้า คอย”ท่า”,รอ
697 be left over, to *ʰlɯəᴬ เหฺลือ(เสียงสามัญ) เหลือ
698 leak, to *rwoːᴮ โรฺว่(เสียงเอก) รั่ว
699 awaken (someone), to *plokᴰ ปลก ปลุก
700 wake up, to *k.tɯːnᴮ ก.ตื่น ตื่น
701 grow, to; rise, to *ʰmaːᶜ หฺม้า เติบโต,งอกเงยขึ้น
702 shrink, to *ʰrotᴰ หฺรด หด
703 disappear, to *ʰrwɤːjᴬ เหฺรฺวอย หาย
704 die, to *p.taːjᴬ ป.ตาย ตาย
705 kill, to *qaːᶜ ก้า ฆ่า
706 expose to the sun, to *p.raːkᴰ ป.ราก “ตาก”แดด
707 hang up, to *qweːnᴬ เกวน แขวน
708 hang down, to *hoːjᶜ โห้ย ห้อย
709 smear, to *daːᴬ ดา ทา
710 lay (a cloth, etc.) across, to *baːtᴰ บาด พาด
711 drive away, to *k.rapᴰ ก.รับ “ขับ”,บังคับให้ออกไป
712 chase, to *lajᴮ ไล่(เสียงเอก) “ไล่”กวด/ตาม
713 be finished, to *leːwᶜ เล้ว(เสียงโท) “แล้ว”เสร็จ
714 to commission *ʑaɰᶜ ใฌ้(ฌ้า~อื้อ)(เสียงโท) ใช้
715 entrust, to *ʰwaːkᴰ หฺวาก ฝาก
716 pronoun, 1s (weak) *kuːᴬ กู
717 pronoun, 1s (strong) *kawᴬ เกา กู(เน้น)
718 pronoun, 2s (weak) *mɯŋᴬ มึง
719 pronoun, 2s (strong) *maɰᴬ ใม(มา~อือ) มึง(เน้น)
720 pronoun, 3s (weak) *mɯnᴬ มึน มัน(ไม่เน้น)
721 pronoun, 3s (strong) *manᴬ มัน
722 pronoun, 1p *rawᴬ เรา
723 one *nɯːŋᴮ หนึ่ง
724 two *soːŋᴬ สอง(เสียงสามัญ) สอง
725 three *saːm สาม(เสียงสามัญ) สาม
726 four *siːᴮ สี่
727 five *haːᶜ ห้า
728 six *krokᴰ กรก หก
729 seven *cetᴰ เจ็ด
730 eight *peːtᴰ เปด แปด
731 nine *kɤwᶜ เก้า
732 hundred; string, to *roːjᶜ โร้ย ร้อย
733 single, only one *ɗiəwᴬ เอฺดียว เดียว
734 pair *guːᴮ คู่(เสียงเอก) คู่
735 how many, several *kiːᶜ กี้ กี่,เท่าไร
736 all *daŋᴬ ดัง ทั้ง
737 many, much *ʰlaːjᴬ หฺลาย(เสียงสามัญ) หลาย,จำนวนมาก
738 little, few *ʰnoːjᴮ โหฺน่ย จำนวน”น้อย”
739 one or so, any *sakᴰ สัก เช่น สักอัน สักหน่อย
740 half *grɤŋᴮ เคริ่ง ครึ่ง
741 each other, together *kanᴬ กัน ด้วย”กัน”
742 other *ʔɯːnᴮ อื่น
743 measure from thumb to fingertip *ɣɯːpᴰ ฅืบ คืบ
744 bite (n.), speech *gamᴬ คำ เช่น กินไปคำนึง หรือแปลว่าคำพูด
745 classifier for things *ʔalᴬ อัล อัน
746 cord, string *saːjᴬ สาย(เสียงสามัญ) สาย เช่น สายสะพาย
747 classifier for long, thin, object *selᶜ เส้ล เส้น
748 classifier for tools *mwaːkᴰ มฺวาก ลักษณะนามสำหรับเครื่องมือ
749 litter (of young) *groːkᴰ โครก ครอก
750 time (classifier) *bajᴬ ไบ ครั้ง
751 name of first month *ciǝŋᴬ เจียง เดือน”เจียง”(คำเมือง)=เดือนอ้าย
752 last (year) *klaːjᴬ กลาย ปี”กลาย”
753 daytime *ŋwanᴬ งฺวัน กลาง”วัน”
754 night *ɣɯːnᴬ ฅืน กลาง”คืน”
755 day *mwɯːᶜ มฺวื้อ(เสียงโท) มื้อ=วัน
756 morning, early *ɟawᶜ เช้า(เสียงโท) เช้า
757 night *ɣamᴮ ฅ่ำ ค่ำ
758 late at night *ɗɯkᴰ อฺดึก ดึก
759 meal, early *ŋaːjᴬ งาย ข้าว”งาย”(คำเมือง)=อาหารมื้อเช้า
760 meal, late *C̬.lwiːŋᴬ ?.ลฺวีง ข้าว”แลง”(ลาว)~>อาหารมื้อสาย
761 meal, evening *ɟm̩.rawᴬ ชฺม.เรา อาหารมื้อเย็น
762 day before yesterday *zɯːnᴬ ซืน เมื่อวาน”ซืน”
763 yesterday *ŋwaːᴬ งฺวา เมื่อ”วาน”
764 tomorrow *ɟm̩.rukᴰ ชฺม.รุก “พรุ่ง”นี้
765 day after tomorrow *C̬.rɯːᴬ ?.รือ มะรืน
766 year *piːᴬ ปี
767 upstream, above *ʰnɯəᴬ เหฺนือ(เสียงสามัญ) เหนือ
768 downstream, below *taɰᶜ ใต้(ต้า~อื้อ) ใต้
769 below *lwɤːŋᴮ เลฺว่อง(เสียงเอก) ล่าง
770 inside *C̥.daɰᴬ ?.ใด(ดา~อือ) ใน
771 outside *l̩.noːkᴰ ล.โนก นอก
772 middle *klaːŋᴬ กลาง
773 side *C̥.bɯǝŋᶜ ?.เบื้อง เบื้อง~>ด้างข้าง
774 this *najᶜ ไน้(เสียงโท) นี่,นี้
775 before *koːnᴮ โก่น ก่อน
776 tip, end *plaːjᴬ ปลาย
777 tip, highest point *ɲoːtᴰ โญด ยอด
778 edge *riːmᴬ ริม
779 gradually, slowly *gɔːjᴮ ค่อย(เสียงเอก) ค่อย
780 not (strong 1) *ɓawᴮ เอฺบ่า บ่
781 not (strong 2) *boːᴮ โบ่ =บ่
782 not (weak) *miːᴬ มิ
783 not yet *pajᴮ ไป่
784 do not *ʰɲaːᴮ หฺญ่า อย่า,ห้ามทำ
785 which *ɗaɰᴬ ใอฺด(อฺดา~อือ) ใด
786 also *koːᶜ โก้ ก็
787 with, and *kapᴰ กับ
788 matter *ɣwaːmᴬ ฅวาม ความ

อ้างอิง

[แก้]
  1. ตามที่ใช้ในนิพนธ์ต่าง ๆ ของสาขาภาษาศาสตร์ในมหาวิทยาลัยของไทย เช่น [1][ลิงก์เสีย]
  2. Li, Fang-Kuei. (1977). A handbook of comparative Tai. Manoa: University Press of Hawaii.
  3. Pittayaporn, Pittayawat [พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์]. (2009a). The Phonology of Proto-Tai (Doctoral dissertation). Department of Linguistics, Cornell University.
  4. Pike, Kenneth Lee; Pike, Evelyn G. Comparative Kadai: Linguistic Studies Beyond Tai. Summer Institute of Linguistics, 1977. p. 16. ISBN 0883120666.
  5. Downer, G.B. (1963). "Chinese, Thai, and Miao-Yao". ใน Shorto, H.L. (บ.ก.). Linguistic Comparison in South East Asia and the Pacific (PDF). School of Oriental and African Studies, University of London. pp. 133–139.
  6. Luo, Yong-Xian (2008). "Sino-Tai and Tai–Kadai: Another Look". ใน Diller, Anthony; Edmondson, Jerold A.; Luo, Yong-Xian (บ.ก.). The Tai–Kadai Languages. Routledge Language Family Series. Psychology Press. pp. 9–28. ISBN 978-0-7007-1457-5.
  7. Gedney, William J. (1972). A Checklist for Determining Tones in Tai Dialects. In M. E. Smith (Ed.). Studies in Linguistics: In Honor of George L. Trager (pp. 423-437). Mouton.
  8. Owen, R. W. (2012). A tonal analysis of contemporary Tai Khuen varieties. Journal of the Southeast Asian Linguistics Society (JSEALS), 5, 12-31.
  9. Manson, Ken. (2009). Prolegomena to Reconstructing Proto-Karen. La Trobe Papers in Linguistics, 12. Available at [2]
  10. Morey, Stephen. (2014). Studying tones in North East India: Tai, Singpho and Tangsa. Language Documentation & Conservation, 8, 637–671.
  11. Gedney (1972)
  12. "Tones of Thai Song Varieties" (PDF). Pacling.anu.edu.au. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-02-21. สืบค้นเมื่อ 17 July 2016.
  13. Jackson, Eric M., Emily H.S. Jackson, and Shuh Huey Lau (2012). A sociolinguistic survey of the Dejing Zhuang dialect area. SIL Electronic Survey Reports 2012-036, SIL International, East Asia Group.
  14. Pittayawat Pittayaporn (2015). Proto-Tai negation system from Comparative and Historical Thai perspectives. [3]
  15. Pittayaporn, Pittayawat. (2009). The Phonology of Proto-Tai. (Doctoral dissertation). Department of Linguistics, Cornell University.
ข้อมูล

อ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

พจนานุกรม

  • [4] Database query to Tai-Kadai etymology (อังกฤษ)
  • [5] Thai Lexicography Resources (อังกฤษ)