ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การนมัสการของโหราจารย์"
AvocatoBot (คุย | ส่วนร่วม) ล r2.7.1) (โรบอต แก้ไข: fr:Adoration des mages |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
(ไม่แสดง 10 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
[[File:Gerard David - Adoration of the Kings - Google Art Project.jpg|thumb|300px|[[เคราร์ด ดาฟิด]], ''[[Adoration of the Kings (David, London)|Adoration of the Kings]]'', [[หอศิลป์แห่งชาติ (ลอนดอน)|หอศิลป์แห่งชาติลอนดอน]], ประมาณ ค.ศ. 1515]] |
|||
{{กล่องข้อมูล ประเภทศิลปะ |
|||
⚫ | |||
| ประเภทงาน = [[ชีวิตของพระเยซู]] |
|||
⚫ | |||
| ชื่อบทความ = การนมัสการของโหราจารย์<br><small>Adoration of the Magi</small> |
|||
| ชื่อภาษาอื่น = |
|||
⚫ | '''การนมัสการของโหราจารย์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339. หน้า 304.</ref> ({{lang-en|Adoration of the Magi}}) เป็นชื่อที่ใช้ในหัวข้อการวาดภาพหนึ่งในชุด[[การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)|การประสูติของพระเยซู]] ซึ่งเป็นภาพของ[[โหราจารย์ (คัมภีร์ไบเบิล)|โหราจารย์]]สามคนเดินทางตาม[[ดาวแห่งเบธเลเฮม]] (star of Bethlehem) จนกระทั่งพบ[[พระกุมารเยซู]] เมื่อพบแล้วก็มอบของขวัญที่เป็นทองคำ [[กำยาน]] และ[[มดยอบ]] (myrrh) และถวายการสักการะ ในปฏิทินศาสนาเหตุการณ์นี้ฉลองกันทางตะวันตกใน[[วันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์]] ซึ่งเป็นวันฉลองการที่[[พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์]]คือ[[พระเยซู]] ทุกวันที่ [[6 มกราคม]] ทางนิกาย[[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]ฉลองวันเดียวกับ[[คริสต์มาส|วันประสูติของพระเยซู]]ในวันที่ [[25 ธันวาคม]] การขยายความจากคำบรรยายเพียงสั้น ๆ เกี่ยวกับแมไจใน[[พระวรสารนักบุญมัทธิว]] บทที่ 2 ข้อที่ 1-11 เป็นการแสดงว่าการประสูติของพระเยซูเป็นที่ยอมรับตั้งแต่ประสูติในฐานะกษัตริย์แห่งโลก |
||
| ภาพ = Adoration magi Pio Christiano Inv31459.jpg |
|||
| ภาพกว้าง = 240px |
|||
| คำบรรยายภาพ = โลงหินสลักด้วยภาพการนมัสการของโหราจารย์ คริสต์ศตวรรษที่ 4 [[Vatican]] |
|||
| หมวดหมู่ = [[:หมวดหมู่:พระเยซู|พระเยซู]] |
|||
}} |
|||
⚫ | |||
⚫ | |||
⚫ | '''การนมัสการของโหราจารย์'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน.'' (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339. หน้า 304.</ref> |
||
== วิวัฒนาการของศิลปะ == |
== วิวัฒนาการของศิลปะ == |
||
ภาพเหตุการณ์ การนมัสการของโหราจารย์ ภาพแรกสุด เป็นภาพของโหราจารย์ที่แต่งกายด้วยกางเกงแบบ[[เปอร์เซีย]]และหมวกแบบ[[ฟรีเจียน]] (Phrygian) เดินเรียงกันยื่นของขวัญไปข้างหน้า เป็นภาพที่มีลักษณะคล้ายภาพเขียนในสมัยโบราณที่ผู้แทนจากประเทศอาณานิคมนำของขวัญมาถวายแสดงความสวามิภักดิ์ต่อผู้มีอำนาจ โดยเฉพาะภาพจากวัฒนธรรมของ[[เมดิเตอร์เรเนียน]] ภาพเขียนลักษณะนี้พบเป็นครั้งแรกในภาพเขียนภายใน[[สุสาน |
ภาพเหตุการณ์ การนมัสการของโหราจารย์ ภาพแรกสุด เป็นภาพของโหราจารย์ที่แต่งกายด้วยกางเกงแบบ[[เปอร์เซีย]]และหมวกแบบ[[ฟรีเจียน]] (Phrygian) เดินเรียงกันยื่นของขวัญไปข้างหน้า เป็นภาพที่มีลักษณะคล้ายภาพเขียนในสมัยโบราณที่ผู้แทนจากประเทศอาณานิคมนำของขวัญมาถวายแสดงความสวามิภักดิ์ต่อผู้มีอำนาจ โดยเฉพาะภาพจากวัฒนธรรมของ[[เมดิเตอร์เรเนียน]] ภาพเขียนลักษณะนี้พบเป็นครั้งแรกในภาพเขียนภายใน[[สุสานใต้ดิน]]และภาพแกะนูนบนโลงหินจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 โหราจารย์มาเริ่มสวมมงกุฏเป็นครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในศิลปะตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ เครื่องแต่งตัวที่ออกไปทางตะวันออกก็เปลี่ยนมาเป็นตะวันตก <ref name="S">G Schiller, ''Iconography of Christian Art, Vol. I'',1971 (English trans from German), Lund Humphries, London, pp100-114 & figs 245-298, ISBN 853312702</ref> ต่อมาในสมัยไบแซนไทน์ โหราจารย์สวมหมวกแบบ pill-box ความสำคัญของหมวกก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ สมัยก่อนหน้านั้น โหราจารย์ทั้งสามคนมักจะมีอายุไล่ ๆ กัน แต่พอมาถึงสมัยหลังการวาดเป็นชายสามวัยก็เริ่มเป็นที่นิยมกัน ตัวอย่างที่งดงามจะเห็นได้ที่ด้านหน้า[[มหาวิหารออร์วีเอโต]]ใน[[ประเทศอิตาลี]] |
||
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ก็เริ่มการใช้โหราจารย์เป็นสัญลักษณ์ของผู้มาจากสามทิศของโลกที่รู้จักกันในสมัยนั้น |
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ก็เริ่มการใช้โหราจารย์เป็นสัญลักษณ์ของผู้มาจากสามทิศของโลกที่รู้จักกันในสมัยนั้น บัลทาซาร์ (Balthasar) จะเป็นชนชั้นทั่วไปของแอฟริกาหรือ[[มัวร์]] และกัสปาร์ (Caspar) จะเป็นภาพของมีลักษณะของผู้ที่มาจากตะวันออกหรือแต่งตัวอย่างผู้ที่มาจากทางตะวันออก |
||
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมาโหราจารย์ก็มีผู้ติดตามเป็นขบวน ของขวัญก็มักจะเป็นเครื่องทองฝีมือดี และเครื่องแต่งตัวก็หรูหราขึ้น<ref name="S"/> พอมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก็กลายมาเป็นงานที่เป็นการแสดงฝีมือของผู้สร้างงานศิลปะเพราะเป็นฉากที่มีองค์ประกอบที่ค่อนข้างซับซ้อนทั้งวัสดุและส่วนประกอบ ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนที่รวมทั้งม้าและอูฐ และสิ่ง |
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมาโหราจารย์ก็มีผู้ติดตามเป็นขบวน ของขวัญก็มักจะเป็นเครื่องทองฝีมือดี และเครื่องแต่งตัวก็หรูหราขึ้น<ref name="S"/> พอมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก็กลายมาเป็นงานที่เป็นการแสดงฝีมือของผู้สร้างงานศิลปะเพราะเป็นฉากที่มีองค์ประกอบที่ค่อนข้างซับซ้อนทั้งวัสดุและส่วนประกอบ ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนที่รวมทั้งม้าและอูฐ และสิ่งต่าง ๆ เช่นไหม ขนสัตว์ เครื่องประดับ และทอง ของกษัตริย์ ที่ตัดกับฉากหลังเป็นป่า หรือโรงนา, พระเยซูนอนบนฟาง, และ เสื้อผ้าที่หยาบของ[[นักบุญโยเซฟ]]และเด็กเลี้ยงแกะ |
||
ในฉากการนมัสการของโหราจารย์ มักจะมีสัตว์หลายชนิด: วัว และ ลา จากฉากประสูติ และม้า อูฐ สุนัข และเหยี่ยวของแมไจและผู้ติดตาม และบางที่ก็มีสัตว์อื่นเช่น นกเกาะอยู่บนโรงนา จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ฉากการนมัสการของโหราจารย์มักจะรวมกับฉากฉาก[[ |
ในฉากการนมัสการของโหราจารย์ มักจะมีสัตว์หลายชนิด: วัว และ ลา จากฉากประสูติ และม้า อูฐ สุนัข และเหยี่ยวของแมไจและผู้ติดตาม และบางที่ก็มีสัตว์อื่นเช่น นกเกาะอยู่บนโรงนา จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ฉากการนมัสการของโหราจารย์มักจะรวมกับฉากฉาก[[การนมัสการของคนเลี้ยงแกะ]] จาก[[พระวรสารนักบุญลูกา]] 2:8-20 ทำให้มีคนและสัตว์เพิ่มขึ้น ในการวางองค์ประกอบของภาพเช่น[[บานพับภาพ]] จิตรกรอาจจะแยกฉากการนมัสการของโหราจารย์และการนมัสการของคนเลี้ยงแกะจากกัน โดยมีฉาก[[การประสูติของพระเยซู (ศิลปะ)|การประสูติของพระเยซู]]เชื่อมตรงกลาง |
||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
{{รายการอ้างอิง}} |
|||
<references /> |
|||
== ดูเพิ่ม |
== ดูเพิ่ม == |
||
* [[จิตรกรรมฝาผนัง]] |
* [[จิตรกรรมฝาผนัง]] |
||
* [[บานพับภาพ]] |
* [[บานพับภาพ]] |
||
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
== แหล่งข้อมูลอื่น == |
||
{{ |
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Adoration of the Magi|การนมัสการของโหราจารย์}} |
||
== งานการนมัสการของโหราจารย์โดยศิลปินบางคน == |
== งานการนมัสการของโหราจารย์โดยศิลปินบางคน == |
||
บรรทัด 38: | บรรทัด 31: | ||
ไฟล์:Magi (1).jpg|[[งานโมเสก]]ที่ราเวนนา <br>คริสต์ศตวรรษที่ 6 |
ไฟล์:Magi (1).jpg|[[งานโมเสก]]ที่ราเวนนา <br>คริสต์ศตวรรษที่ 6 |
||
ไฟล์:NOR1419Kapitell IV.jpg|หัวเสา |
ไฟล์:NOR1419Kapitell IV.jpg|หัวเสา |
||
ไฟล์:Hereford cathedral 022.JPG|[[บานพับภาพ]]ที่[[มหาวิหาร |
ไฟล์:Hereford cathedral 022.JPG|[[บานพับภาพ]]ที่[[มหาวิหารเฮริฟอร์ด]] |
||
ไฟล์:Adoration assisi.jpg|[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br>[[มหาวิหาร |
ไฟล์:Adoration assisi.jpg|[[จิตรกรรมฝาผนัง]]<br>[[มหาวิหารนักบุญฟรังซิสแห่งอัสซีซี]]<br>ราว ค.ศ. .1310 |
||
ไฟล์:Bartolo di Fredi - Adoration of the Magi.jpg|'''[[บาร์โทโล ดิ เฟรดิ]]'''<br>ค.ศ. 1385-1388 |
ไฟล์:Bartolo di Fredi - Adoration of the Magi.jpg|'''[[บาร์โทโล ดิ เฟรดิ]]'''<br>ค.ศ. 1385-1388 |
||
ไฟล์: |
ไฟล์:Bartolomé Esteban Murillo - Adoration of the Magi - Google Art Project.jpg|'''[[บาร์โตโลเม เอสเตบัน มูรีโย]]''' |
||
ไฟล์:Andrea Mantegna 001.jpg|'''[[อันเด |
ไฟล์:Andrea Mantegna 001.jpg|'''[[อันเดรอา มันเตญญา]]'''<br>ราว ค.ศ. 1461 |
||
ไฟล์:Fra Angelico Adoration.jpg|'''[[ |
ไฟล์:Fra Angelico Adoration.jpg|'''[[ฟีลิปโป ลิปปี]]''' |
||
ไฟล์:Albrecht Dürer - Adorazione dei Magi - Google Art Project.jpg|'''[[อัลเบรชท์ ดือเรอร์]]'''<br>ค.ศ. 1504 |
ไฟล์:Albrecht Dürer - Adorazione dei Magi - Google Art Project.jpg|'''[[อัลเบรชท์ ดือเรอร์]]'''<br>ค.ศ. 1504 |
||
ไฟล์:Epiphanie-Triptychon1.jpg|'''[[เฮียโรนิมัส บอส]]'''<br>ราว ค.ศ. 1510 |
ไฟล์:Epiphanie-Triptychon1.jpg|'''[[เฮียโรนิมัส บอส]]'''<br>ราว ค.ศ. 1510 |
||
<!--ภาพ:Adorazione dei magi 1517.jpg|'''[[อันโต |
<!--ภาพ:Adorazione dei magi 1517.jpg|'''[[อันโตนีโอ ดา กอร์เรจโจ]]'''<br>ค.ศ. 1517 (this image does not exist) --> |
||
ไฟล์:Leonardo da Vinci - Adorazione dei Magi - Google Art Project.jpg|'''[[เลโอนาร์โด ดา วินชี]]''' |
ไฟล์:Leonardo da Vinci - Adorazione dei Magi - Google Art Project.jpg|'''[[เลโอนาร์โด ดา วินชี]]''' |
||
ไฟล์:Rogier van der Weyden 009.jpg|'''[[โรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น]]'''<br>คริสต์ศตวรรษที่ 15 |
ไฟล์:Rogier van der Weyden 009.jpg|'''[[โรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น]]'''<br>คริสต์ศตวรรษที่ 15 |
||
ไฟล์:Wga brueghel adoration of the magi.jpg|'''[[ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้ลูก)]]''' |
ไฟล์:Wga brueghel adoration of the magi.jpg|'''[[ปิเอเตอร์ บรูเกล (ผู้ลูก)]]''' |
||
ไฟล์:Folio 52r - The Adoration of the Magi.jpg|'''[[ |
ไฟล์:Folio 52r - The Adoration of the Magi.jpg|'''[[เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร]]'''<br>“หนังสือประจำชั่วโมงดุคเดอเบอร์รี”<br> (Les Très Riches Heures<br>du duc de Berry) |
||
</gallery> |
</gallery> |
||
</center> |
</center> |
||
บรรทัด 60: | บรรทัด 53: | ||
[[หมวดหมู่:ศิลปะเกี่ยวกับพระแม่มารีย์]] |
[[หมวดหมู่:ศิลปะเกี่ยวกับพระแม่มารีย์]] |
||
[[หมวดหมู่:พระเยซู|การประสูติของพระเยซู]] |
[[หมวดหมู่:พระเยซู|การประสูติของพระเยซู]] |
||
[[bg:Поклонението на влъхвите]] |
|||
[[ca:Adoració dels Reis Mags]] |
|||
[[de:Anbetung der Könige]] |
|||
[[en:Adoration of the Magi]] |
|||
[[es:Adoración de los Reyes Magos]] |
|||
[[fr:Adoration des mages]] |
|||
[[hr:Poklonstvo mudraca]] |
|||
[[ja:東方三博士の礼拝]] |
|||
[[pt:Adoração dos Magos]] |
|||
[[ru:Поклонение волхвов]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:36, 21 กรกฎาคม 2567
การนมัสการของโหราจารย์[1] (อังกฤษ: Adoration of the Magi) เป็นชื่อที่ใช้ในหัวข้อการวาดภาพหนึ่งในชุดการประสูติของพระเยซู ซึ่งเป็นภาพของโหราจารย์สามคนเดินทางตามดาวแห่งเบธเลเฮม (star of Bethlehem) จนกระทั่งพบพระกุมารเยซู เมื่อพบแล้วก็มอบของขวัญที่เป็นทองคำ กำยาน และมดยอบ (myrrh) และถวายการสักการะ ในปฏิทินศาสนาเหตุการณ์นี้ฉลองกันทางตะวันตกในวันสมโภชพระคริสต์แสดงองค์ ซึ่งเป็นวันฉลองการที่พระวจนะทรงรับเป็นมนุษย์คือพระเยซู ทุกวันที่ 6 มกราคม ทางนิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์ฉลองวันเดียวกับวันประสูติของพระเยซูในวันที่ 25 ธันวาคม การขยายความจากคำบรรยายเพียงสั้น ๆ เกี่ยวกับแมไจในพระวรสารนักบุญมัทธิว บทที่ 2 ข้อที่ 1-11 เป็นการแสดงว่าการประสูติของพระเยซูเป็นที่ยอมรับตั้งแต่ประสูติในฐานะกษัตริย์แห่งโลก
วิวัฒนาการของศิลปะ
ภาพเหตุการณ์ การนมัสการของโหราจารย์ ภาพแรกสุด เป็นภาพของโหราจารย์ที่แต่งกายด้วยกางเกงแบบเปอร์เซียและหมวกแบบฟรีเจียน (Phrygian) เดินเรียงกันยื่นของขวัญไปข้างหน้า เป็นภาพที่มีลักษณะคล้ายภาพเขียนในสมัยโบราณที่ผู้แทนจากประเทศอาณานิคมนำของขวัญมาถวายแสดงความสวามิภักดิ์ต่อผู้มีอำนาจ โดยเฉพาะภาพจากวัฒนธรรมของเมดิเตอร์เรเนียน ภาพเขียนลักษณะนี้พบเป็นครั้งแรกในภาพเขียนภายในสุสานใต้ดินและภาพแกะนูนบนโลงหินจากคริสต์ศตวรรษที่ 4 โหราจารย์มาเริ่มสวมมงกุฏเป็นครั้งแรกราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 ในศิลปะตะวันตกเป็นส่วนใหญ่ เครื่องแต่งตัวที่ออกไปทางตะวันออกก็เปลี่ยนมาเป็นตะวันตก [2] ต่อมาในสมัยไบแซนไทน์ โหราจารย์สวมหมวกแบบ pill-box ความสำคัญของหมวกก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ สมัยก่อนหน้านั้น โหราจารย์ทั้งสามคนมักจะมีอายุไล่ ๆ กัน แต่พอมาถึงสมัยหลังการวาดเป็นชายสามวัยก็เริ่มเป็นที่นิยมกัน ตัวอย่างที่งดงามจะเห็นได้ที่ด้านหน้ามหาวิหารออร์วีเอโตในประเทศอิตาลี
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 12 ก็เริ่มการใช้โหราจารย์เป็นสัญลักษณ์ของผู้มาจากสามทิศของโลกที่รู้จักกันในสมัยนั้น บัลทาซาร์ (Balthasar) จะเป็นชนชั้นทั่วไปของแอฟริกาหรือมัวร์ และกัสปาร์ (Caspar) จะเป็นภาพของมีลักษณะของผู้ที่มาจากตะวันออกหรือแต่งตัวอย่างผู้ที่มาจากทางตะวันออก
ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมาโหราจารย์ก็มีผู้ติดตามเป็นขบวน ของขวัญก็มักจะเป็นเครื่องทองฝีมือดี และเครื่องแต่งตัวก็หรูหราขึ้น[2] พอมาถึงคริสต์ศตวรรษที่ 15 ก็กลายมาเป็นงานที่เป็นการแสดงฝีมือของผู้สร้างงานศิลปะเพราะเป็นฉากที่มีองค์ประกอบที่ค่อนข้างซับซ้อนทั้งวัสดุและส่วนประกอบ ที่ประกอบด้วยกลุ่มชนที่รวมทั้งม้าและอูฐ และสิ่งต่าง ๆ เช่นไหม ขนสัตว์ เครื่องประดับ และทอง ของกษัตริย์ ที่ตัดกับฉากหลังเป็นป่า หรือโรงนา, พระเยซูนอนบนฟาง, และ เสื้อผ้าที่หยาบของนักบุญโยเซฟและเด็กเลี้ยงแกะ
ในฉากการนมัสการของโหราจารย์ มักจะมีสัตว์หลายชนิด: วัว และ ลา จากฉากประสูติ และม้า อูฐ สุนัข และเหยี่ยวของแมไจและผู้ติดตาม และบางที่ก็มีสัตว์อื่นเช่น นกเกาะอยู่บนโรงนา จากคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ฉากการนมัสการของโหราจารย์มักจะรวมกับฉากฉากการนมัสการของคนเลี้ยงแกะ จากพระวรสารนักบุญลูกา 2:8-20 ทำให้มีคนและสัตว์เพิ่มขึ้น ในการวางองค์ประกอบของภาพเช่นบานพับภาพ จิตรกรอาจจะแยกฉากการนมัสการของโหราจารย์และการนมัสการของคนเลี้ยงแกะจากกัน โดยมีฉากการประสูติของพระเยซูเชื่อมตรงกลาง
อ้างอิง
- ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน. ISBN 9749588339. หน้า 304.
- ↑ 2.0 2.1 G Schiller, Iconography of Christian Art, Vol. I,1971 (English trans from German), Lund Humphries, London, pp100-114 & figs 245-298, ISBN 853312702
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ การนมัสการของโหราจารย์
งานการนมัสการของโหราจารย์โดยศิลปินบางคน
ฉากการนมัสการของโหราจารย์เป็นฉากที่นิยมวาดกันมากซึ่งจะเห็นได้จากงานเขียนของ:
-
งานโมเสกที่ราเวนนา
คริสต์ศตวรรษที่ 6 -
หัวเสา
-
บาร์โทโล ดิ เฟรดิ
ค.ศ. 1385-1388 -
อันเดรอา มันเตญญา
ราว ค.ศ. 1461 -
อัลเบรชท์ ดือเรอร์
ค.ศ. 1504 -
เฮียโรนิมัส บอส
ราว ค.ศ. 1510 -
โรเจียร์ ฟาน เดอ เวย์เด็น
คริสต์ศตวรรษที่ 15