ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระรามาธิบดี (เจ้าพระยาจันท์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
top: แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 12 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 7 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox monarch
'''สมเด็จพระราชโองการพระรามาธิบดี''' มีพระนามเดิมว่า '''เจ้าพระยาจันท์''' หรือพระนามหลังเข้ารีตว่า '''อิบราฮิม''' เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาเพียงพระองค์เดียวที่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]
| succession = พระมหากษัตริย์กัมพูชา
| reign = ค.ศ. 1642 - 1658
| successor = [[พระบรมราชาที่ 8]] (นักองค์สูร)
| father = [[พระไชยเชษฐาที่ 2]]
| mother = นักนางบุษบา
| regent =
| house = [[ราชวงศ์ตรอซ็อกผแอม|ตรอซ็อกผแอม]]
| death_date = ค.ศ. 1658
| predecessor = [[พระปทุมราชาที่ 1]] (นักองค์โนน)
| religion = [[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]] <small>(เดิม[[ศาสนาพุทธ]])</small>
}}


'''สมเด็จพระราชโองการพระรามาธิบดี''' ({{langx|km|រាមាធិបតីទី១}}) มีพระนามเดิมว่า '''เจ้าพระยาจันท์''' ({{langx|km|ពញាចន្}}) หรือพระนามหลังเข้ารีตว่า '''อิบราฮิม''' ([[อักษรยาวี|ยาวี]]: {{lang|ms|سلطان إبراهيم}}) เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาเพียงพระองค์เดียวที่นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]]
สมเด็จพระรามาธิบดีประสูติเมื่อ พ.ศ. 2157 เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระไชยเชษฐา ประสูติแต่นักนางบุษบา [[บาทบริจาริกา]][[ชาวลาว]]<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 100</ref> เดิมมีตำแหน่งเป็นเจ้าพระยาจันท์ พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2184 โดยได้ปราบดาภิเษกจับพระปทุมราชา และพระบรมราชาผู้เป็นมหาอุปราชประหารชีวิตเสีย หลังจากครองราชย์แล้วสองปี พระองค์ได้สนมเป็นชาวมลายู จึงเปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามใน พ.ศ. 2186<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 104</ref> ทำให้มีผู้ต่อต้านพระองค์มาก อีกทั้งในรัชกาลของพระองค์ยังมีความขัดแย้งกับพ่อค้าชาวฮอลันดา ใน พ.ศ. 2201 พระแก้วฟ้า (นักองค์อิ่ม) ซึ่งมีพระมารดาเป็นชาวเวียดนาม ได้นำทัพ[[เวียดนาม]]มาโจมตีเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ ในครั้งแรกทัพเวียดนามเป็นฝ่ายชนะ จับพระรามาธิบดีใส่กรงไปเวียดนาม พระองค์ถูกขังอยู่ที่[[ตังเกี๋ย]]จนสิ้นพระชนม์ใน พ.ศ. 2202 ส่วนพระแก้วฟ้าจมน้ำหายไป หลังจากนั้น พระปทุมราชาและพระอุไทยราชนำกองทัพมารบกับเวียดนาม และตีทัพเวียดนามแตกไป พระปทุมราชาจึงได้ครองราชย์สมบัติต่อมา

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกัมพูชาเสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 2157 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ในสมเด็จ[[พระไชยเชษฐาที่ 2]] ประสูติแต่นักนางบุษบา [[บาทบริจาริกา]][[ชาวลาว]]<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 100</ref> และทรงเป็นอนุชาของ[[พระศรีธรรมราชาที่ 2]] และ[[พระองค์ทองราชา]] มีตำแหน่งเดิมเป็นเจ้าพระยาจันท์ ตำแหน่งพระอุปราชในรัชกาลสมเด็จพระองค์ทองราชาผู้เป็นพระเชษฐา พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2184 โดยการยึดพระราชอำนาจจาก[[พระปทุมราชาที่ 1]] และจับ[[พระอุไทย]]ผู้เป็นมหาอุปโยราช(ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์)และพระปทุมราชาที่ 1 สำเร็จโทษขณะเสด็จออกไปล่าสัตว์ที่ชายป่าเมืองอุดง ต่อมาหลังจากครองราชย์แล้วสองปี พระองค์เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามเมื่อ พ.ศ. 2186<ref>''ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา'', หน้า 104</ref> ทำให้มีผู้ต่อต้านพระองค์มาก อีกทั้งในรัชกาลของพระองค์ยังมีความขัดแย้งกับพ่อค้าชาวฮอลันดา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2201 นักองค์สูร ([[พระบรมราชาที่ 8]]) โอรสพระองค์หนึ่งของ[[พระอุไทย]] พระมหาอุปโยราชและอนุชาต่างมารดาของ[[พระปทุมราชาที่ 1]] ประสูติแต่นักนางโมม หรือมม พระมารดาชาวเวียดนามได้นำกองทัพจาก[[เวียดนาม]]มาโจมตีเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ของสมเด็จพระรามาธิบดี (จันท์) กองทัพเวียดนามเป็นฝ่ายชนะ จับพระรามาธิบดีใส่กรงไปเวียดนาม <ref>Achille Dauphin-Meunier Histoire du Cambodge Presses universitaires de France, Paris 1968 Que sais-je ? n° 916.</ref> พระองค์ถูกขังอยู่ที่[[ตังเกี๋ย]] ได้รับความทุกข์โทมนัสอย่างแสนสาหัสจนพระวรกายกายไม่อาจทนได้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2202 สิริพระชนม์มายุ 44 พรรษา อยู่ในราชสมบัติ 16 ปี จากนั้นนักองค์สูรจึงขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จ[[พระบรมราชาที่ 8]] แห่งกัมพูชา <ref>Phoeun Mak, Dharma Po « La première intervention militaire vietnamienne au Cambodge (1658-1659) » dans: Bulletin de l'École française d'Extrême-Orient, tome 73, 1984, p. 285-318.</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 15: บรรทัด 30:
[[หมวดหมู่:บุคคลจากศาสนาพุทธที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากศาสนาพุทธที่เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลาม]]
[[หมวดหมู่:ชาวกัมพูชาเชื้อสายลาว]]
[[หมวดหมู่:ชาวกัมพูชาเชื้อสายลาว]]
[[หมวดหมู่:มุสลิมชาวกัมพูชา]]
[[หมวดหมู่:เจ้าแผ่นดินที่ถูกปลดจากราชบัลลังก์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:00, 7 พฤศจิกายน 2567

สมเด็จพระรามาธิบดี (เจ้าพระยาจันท์)
พระมหากษัตริย์กัมพูชา
ครองราชย์ค.ศ. 1642 - 1658
ก่อนหน้าพระปทุมราชาที่ 1 (นักองค์โนน)
ถัดไปพระบรมราชาที่ 8 (นักองค์สูร)
สวรรคตค.ศ. 1658
ราชวงศ์ตรอซ็อกผแอม
พระราชบิดาพระไชยเชษฐาที่ 2
พระราชมารดานักนางบุษบา
ศาสนาอิสลาม (เดิมศาสนาพุทธ)

สมเด็จพระราชโองการพระรามาธิบดี (เขมร: រាមាធិបតីទី១) มีพระนามเดิมว่า เจ้าพระยาจันท์ (เขมร: ពញាចន្) หรือพระนามหลังเข้ารีตว่า อิบราฮิม (ยาวี: سلطان إبراهيم) เป็นพระมหากษัตริย์กัมพูชาเพียงพระองค์เดียวที่นับถือศาสนาอิสลาม

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 แห่งกัมพูชาเสด็จพระราชสมภพเมื่อปี พ.ศ. 2157 เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 3 ในสมเด็จพระไชยเชษฐาที่ 2 ประสูติแต่นักนางบุษบา บาทบริจาริกาชาวลาว[1] และทรงเป็นอนุชาของพระศรีธรรมราชาที่ 2 และพระองค์ทองราชา มีตำแหน่งเดิมเป็นเจ้าพระยาจันท์ ตำแหน่งพระอุปราชในรัชกาลสมเด็จพระองค์ทองราชาผู้เป็นพระเชษฐา พระองค์ขึ้นครองราชย์เมื่อ พ.ศ. 2184 โดยการยึดพระราชอำนาจจากพระปทุมราชาที่ 1 และจับพระอุไทยผู้เป็นมหาอุปโยราช(ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์)และพระปทุมราชาที่ 1 สำเร็จโทษขณะเสด็จออกไปล่าสัตว์ที่ชายป่าเมืองอุดง ต่อมาหลังจากครองราชย์แล้วสองปี พระองค์เปลี่ยนไปนับถือศาสนาอิสลามเมื่อ พ.ศ. 2186[2] ทำให้มีผู้ต่อต้านพระองค์มาก อีกทั้งในรัชกาลของพระองค์ยังมีความขัดแย้งกับพ่อค้าชาวฮอลันดา

ต่อมาในปี พ.ศ. 2201 นักองค์สูร (พระบรมราชาที่ 8) โอรสพระองค์หนึ่งของพระอุไทย พระมหาอุปโยราชและอนุชาต่างมารดาของพระปทุมราชาที่ 1 ประสูติแต่นักนางโมม หรือมม พระมารดาชาวเวียดนามได้นำกองทัพจากเวียดนามมาโจมตีเพื่อล้มล้างราชบัลลังก์ของสมเด็จพระรามาธิบดี (จันท์) กองทัพเวียดนามเป็นฝ่ายชนะ จับพระรามาธิบดีใส่กรงไปเวียดนาม [3] พระองค์ถูกขังอยู่ที่ตังเกี๋ย ได้รับความทุกข์โทมนัสอย่างแสนสาหัสจนพระวรกายกายไม่อาจทนได้เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2202 สิริพระชนม์มายุ 44 พรรษา อยู่ในราชสมบัติ 16 ปี จากนั้นนักองค์สูรจึงขึ้นครองราชย์เป็นสมเด็จพระบรมราชาที่ 8 แห่งกัมพูชา [4]

อ้างอิง

[แก้]
เชิงอรรถ
  1. ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา, หน้า 100
  2. ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา, หน้า 104
  3. Achille Dauphin-Meunier Histoire du Cambodge Presses universitaires de France, Paris 1968 Que sais-je ? n° 916.
  4. Phoeun Mak, Dharma Po « La première intervention militaire vietnamienne au Cambodge (1658-1659) » dans: Bulletin de l'École française d'Extrême-Orient, tome 73, 1984, p. 285-318.
บรรณานุกรม
  • เรืองเดชอนันต์ (ทองดี ธนรัชต์), พันตรี หลวง. ราชพงษาวดารกรุงกัมพูชา. กรุงเทพฯ : ไทยควอลิตี้บุ๊คส์ (2006), 2563. 336 หน้า. ISBN 978-616-514-668-5