ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเบเนดิกติน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: ksh:Benediktinerorde; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
'''คณะนักบุญเบเนดิกต์''' ({{lang-en|Order of Saint Benedict}};{{lang-la|Ordo Sancti Benedicti}}) หรือที่มักเรียกกันว่า '''คณะเบเนดิกติน''' (ค.ศ. 480 - ค.ศ. 547) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ซึ่งตั้งชื่อตามนักบุญ[[เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย]] ยึดถือ[[ชีวิตอารามวาสี]]สำหรับทั้ง[[นักพรต]]ชายและหญิง สมาชิกอยู่ร่วมกันใน[[อาราม]]และปฏิบัติตาม “[[Rule of St Benedict|วินัยของนักบุญเบเนดิกต์]]” (Rule of St Benedict)
'''คณะนักบุญเบเนดิกต์''' ({{lang-en|Order of Saint Benedict}};{{lang-la|Ordo Sancti Benedicti}}) หรือที่มักเรียกกันว่า '''คณะเบเนดิกติน''' (ค.ศ. 480 - ค.ศ. 547) เป็น[[คณะนักบวชคาทอลิก]] ซึ่งตั้งชื่อตามนักบุญ[[เบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย]] ยึดถือ[[ชีวิตอารามวาสี]]สำหรับทั้ง[[นักพรต]]ชายและหญิง สมาชิกอยู่ร่วมกันใน[[อาราม]]และปฏิบัติตาม “[[Rule of St Benedict|วินัยของนักบุญเบเนดิกต์]]” (Rule of St Benedict)


==ประวัติ==
== ประวัติ ==
หลังจากที่เบเนดิกต์ได้บำเพ็ญพรต สวดภาวนา อ่านพระคัมภีร์ และอดอาหาร ได้ระยะหนึ่งก็มีผู้ศรัทธาหลายคนสนใจขอร่วมบำเพ็ญตามแนวทางของท่าน เบเนดิกต์จึงได้ก่อตั้ง[[อาราม]]ขึ้น 12 แห่ง แต่ละแห่งมี[[นักพรต]] 12 มี[[อธิการ]] (Abbot) เป็นหัวหน้าอาราม อธิการแต่ละคนขึ้นตรงต่อเบเนดิกต์ซึ่งขณะนั้นท่านมีอายุได้เพียง 25 ปีเท่านั้น ต่อมามี[[บาทหลวง]]คนหนึ่งในโบสถ์ใกล้อารามเกิดริษยาจึงหาทางแกล้งท่านต่างๆ นาๆ จนท่านต้องย้ายไปบำเพ็ญพรตที่ภูเขากัสซีโน (Cassino) พร้อมกับศิษย์จำนวนหนึ่ง ท่านสถานที่นี้ท่านได้ตรา[[วินัยของนักบุญเบเนดิกต์]]ขึ้นเพื่อเป็นระเบียบและแนวทางของผู้ที่จะดำเนินชีวิตเป็น[[นักพรต]] (monk)<ref name="พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน">บาทหลวงสมชัย พิยาพงศ์พร, ''พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน'', วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 68-9, 76</ref>
หลังจากที่เบเนดิกต์ได้บำเพ็ญพรต สวดภาวนา อ่านพระคัมภีร์ และอดอาหาร ได้ระยะหนึ่งก็มีผู้ศรัทธาหลายคนสนใจขอร่วมบำเพ็ญตามแนวทางของท่าน เบเนดิกต์จึงได้ก่อตั้ง[[อาราม]]ขึ้น 12 แห่ง แต่ละแห่งมี[[นักพรต]] 12 มี[[อธิการ]] (Abbot) เป็นหัวหน้าอาราม อธิการแต่ละคนขึ้นตรงต่อเบเนดิกต์ซึ่งขณะนั้นท่านมีอายุได้เพียง 25 ปีเท่านั้น ต่อมามี[[บาทหลวง]]คนหนึ่งในโบสถ์ใกล้อารามเกิดริษยาจึงหาทางแกล้งท่านต่างๆ นาๆ จนท่านต้องย้ายไปบำเพ็ญพรตที่ภูเขากัสซีโน (Cassino) พร้อมกับศิษย์จำนวนหนึ่ง ท่านสถานที่นี้ท่านได้ตรา[[วินัยของนักบุญเบเนดิกต์]]ขึ้นเพื่อเป็นระเบียบและแนวทางของผู้ที่จะดำเนินชีวิตเป็น[[นักพรต]] (monk)<ref name="พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน">บาทหลวงสมชัย พิยาพงศ์พร, ''พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน'', วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 68-9, 76</ref>


บรรทัด 20: บรรทัด 20:
{{โครงศาสนา}}
{{โครงศาสนา}}


==อ้างอิง==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


{{เรียงลำดับ|บเบเนดิกติน}}
{{เรียงลำดับ|บเบเนดิกติน}}

[[หมวดหมู่:อารามในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:อารามในศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:คณะนักบวชคาทอลิก]]
[[หมวดหมู่:คณะนักบวชคาทอลิก]]
บรรทัด 54: บรรทัด 55:
[[ja:ベネディクト会]]
[[ja:ベネディクト会]]
[[ko:베네딕도회]]
[[ko:베네딕도회]]
[[ksh:Benediktinerorde]]
[[la:Ordo Sancti Benedicti]]
[[la:Ordo Sancti Benedicti]]
[[lb:Benediktiner]]
[[lb:Benediktiner]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:00, 17 มีนาคม 2554

นักบุญเบเนดิกต์เขียนโดยฟราแอนเจลิโค ที่วัดซานมาร์โค (San Marco) ที่เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี

คณะนักบุญเบเนดิกต์ (อังกฤษ: Order of Saint Benedict;ละติน: Ordo Sancti Benedicti) หรือที่มักเรียกกันว่า คณะเบเนดิกติน (ค.ศ. 480 - ค.ศ. 547) เป็นคณะนักบวชคาทอลิก ซึ่งตั้งชื่อตามนักบุญเบเนดิกต์แห่งเนอร์เซีย ยึดถือชีวิตอารามวาสีสำหรับทั้งนักพรตชายและหญิง สมาชิกอยู่ร่วมกันในอารามและปฏิบัติตาม “วินัยของนักบุญเบเนดิกต์” (Rule of St Benedict)

ประวัติ

หลังจากที่เบเนดิกต์ได้บำเพ็ญพรต สวดภาวนา อ่านพระคัมภีร์ และอดอาหาร ได้ระยะหนึ่งก็มีผู้ศรัทธาหลายคนสนใจขอร่วมบำเพ็ญตามแนวทางของท่าน เบเนดิกต์จึงได้ก่อตั้งอารามขึ้น 12 แห่ง แต่ละแห่งมีนักพรต 12 มีอธิการ (Abbot) เป็นหัวหน้าอาราม อธิการแต่ละคนขึ้นตรงต่อเบเนดิกต์ซึ่งขณะนั้นท่านมีอายุได้เพียง 25 ปีเท่านั้น ต่อมามีบาทหลวงคนหนึ่งในโบสถ์ใกล้อารามเกิดริษยาจึงหาทางแกล้งท่านต่างๆ นาๆ จนท่านต้องย้ายไปบำเพ็ญพรตที่ภูเขากัสซีโน (Cassino) พร้อมกับศิษย์จำนวนหนึ่ง ท่านสถานที่นี้ท่านได้ตราวินัยของนักบุญเบเนดิกต์ขึ้นเพื่อเป็นระเบียบและแนวทางของผู้ที่จะดำเนินชีวิตเป็นนักพรต (monk)[1]

ต่อมานักพรตในคณะได้หันไปทำงานด้านเผยแผ่ศาสนา (Mission) ด้วยและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี เช่น นักบุญแพทริคมิชชันนารีประจำไอร์แลนด์ นักบุญโคลัมบานุสมิชชันนาีรีประจำฝรั่งเศส นักบุญออกัสตินแห่งแคนเทอร์เบอรีมิชชันนารีประจำอังกฤษ เป็นต้น ทำให้คณะเบเนดิกตินเริ่มหันมาพัฒนาความสามารถด้านการศึกษาด้วย มีการบวชเป็นบาทหลวง มีการตั้งห้องสมุด พิมพ์หนังสือ เพื่อใช้ค้นคว้าและเผยแพร่ในการประกาศศาสนา[1]


ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น


อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 บาทหลวงสมชัย พิยาพงศ์พร, พัฒนาการวิถีชีวิตจิตคริสตชน, วิทยาลัยแสงธรรม, 2551, หน้า 68-9, 76