ข้ามไปเนื้อหา

มหาโจฬมนเทียร

พิกัด: 10°46′59″N 79°07′57″E / 10.78306°N 79.13250°E / 10.78306; 79.13250
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มหาโจฬมนเทียร
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
บางส่วนของหมู่มหาโจฬมนเทียร
ที่ตั้งรัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย
รวมถึง
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: (ii), (iii)
อ้างอิง250bis
ขึ้นทะเบียน1987 (สมัยที่ 11th)
เพิ่มเติม2004
พื้นที่21.88 ha (54.1 เอเคอร์)
พื้นที่กันชน16.715 ha (41.30 เอเคอร์)
พิกัด10°46′59″N 79°07′57″E / 10.78306°N 79.13250°E / 10.78306; 79.13250
มหาโจฬมนเทียรตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
มหาโจฬมนเทียร
ที่ตั้งมหาโจฬมนเทียร ในประเทศอินเดีย
มหาโจฬมนเทียรตั้งอยู่ในรัฐทมิฬนาฑู
มหาโจฬมนเทียร
มหาโจฬมนเทียร (รัฐทมิฬนาฑู)

หมู่มหาโจฬมนเทียร (สันสกฤต: महाचोळमन्दिराणि มหาโจฬมนฺทิราณิ) เป็นแหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก ประกอบด้วยเทวสถานฮินดูที่สร้างขึ้นในสมัยจักรวรรดิโจฬะ ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่รัฐทมิฬนาฑู[1][2] เทวสถานเหล่านี้สร้างขึ้นระหว่างศตวรรษที่ 11 ถึง 12 ประกอบไปด้วยหมู่มนเทียรสามหมู่ คือ พฤหทีสวรมนเทียร ตันชาวุร, พฤหทีสวรมนเทียร คงไคโกนฑะ โจฬปุรัม, ไอรวเตสวรมนเทียร ทรสุรัม

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Great Living Chola Temples". World Heritage: Unesco.org. สืบค้นเมื่อ 6 November 2010.
  2. "Great Living Chola Temples" (pdf). Unesco. สืบค้นเมื่อ 6 November 2010.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Ayyar, P.V. Jagadisa (1993). South Indian Shrines. New Delhi: Asian Educational Services. ISBN 81-206-0151-3.
  • Chaitanya, Krishna (1987). Arts of India. Abhinav Publications.
  • Davis, Richard (1997). Lives of Indian images. Princeton, N.J: Princeton University Press. ISBN 0-691-00520-6.
  • S.R. Balasubrahmanyam (1979), Later Chola Temples, Thomson Press, OCLC 6921015
  • S.R. Balasubrahmanyam (1975), Middle Chola Temples, Thomson Press, ISBN 978-9060236079
  • Michell, George (1988), The Hindu Temple: An Introduction to Its Meaning and Forms, Chicago: University of Chicago Press, ISBN 0-226-53230-5

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]