ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | วาคีน |
• ลมแรงสูงสุด | 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) (เฉลี่ย 1 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 931 มิลลิบาร์ (hPa; 27.49 inHg) |
สถิติฤดูกาล | |
พายุดีเปรสชันทั้งหมด | 12 |
พายุโซนร้อนทั้งหมด | 11 |
พายุเฮอริเคน | 4 |
พายุเฮอริเคนขนาดใหญ่ (ระดับ 3 ขึ้นไป) | 2 |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | ทางตรง 88, ทางอ้อม 2 |
ความเสียหายทั้งหมด | ≥ 590.7 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 2015) |
ฤดูพายุเฮอริเคนแอตแลนติก พ.ศ. 2558 คือช่วงของฤดูกาลในอดีต ที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ฤดูกาลอย่างเป็นทางการจะเริ่มนับในวันที่ 1 มิถุนายน และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 พฤศจิกายน เหล่านี้วันตามขอบระยะเวลาของแต่ละช่วงฤดูถือเป็นช่วงเวลาที่มีพายุก่อตัวมากที่สุดในแอ่งแอตแลนติก อย่างไรก็ตามการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ทุกเวลา โดยฤดูกาลนี้มีพายุเกิดขึ้นน้อยกว่าค่าเฉลี่ย
ภาพรวมฤดูกาล
[แก้]พายุ
[แก้]พายุโซนร้อนอันนา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 8 – 11 พฤษภาคม | ||
ความรุนแรง | 60 ไมล์/ชม. (95 กม./ชม.) (1 นาที) 998 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.47 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 6 พฤษภาคม พื้นผิวอากาศต่ำกำลังอ่อนมีความสัมพันธ์กับร่องอากาศกว้างระดับบน ซึ่งเป็นพื้นที่ฝนตกไม่เป็นระเบียบและมีพายุฝนฟ้าคะนองขยายไปทั่วทั้งรัฐฟลอริดา, เกาะบาฮามาส และพื้นทะเลที่อยู่ติดกัน[1]
- วันที่ 8 พฤษภาคม มีการหมุนเวียนลมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ใกล้กับศูนย์กลางของพื้นที่ความแปรปรวนของอากาศ และเวลา 03:00 UTC (หรือ 10:00 น. ตามเวลาในไทย) ระบบได้มีกำลังเพียงพอ และมีการประกาศเกี่ยวกับพายุกึ่งโซนร้อนอันนา[2] ท่ามกลางน้ำอุ่นและกระแสน้ำในอ่าวและความหนาวเย็นที่ผิดปกติในอากาศระดับบน[3] อันนา จึงมีความรุนแรงไปถึงจุดสูงสุดที่ความเร็วลม 95 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (60 ไมล์ต่อชั่วโมง) ในช่วงปลายของวัน[4]
- วันที่ 9 พฤษภาคม ระบบได้เปลี่ยนผ่านไปเป็นพายุหมุนเขตร้อนอย่างเต็มรูปแบบ[5] ต่อมาอันนามีกำลังลดลง จากกระแสน้ำเย็นและอากาศที่แห้ง[6]
- วันที่ 10 พฤษภาคม เวลา 10:00 UTC (17:00 น. ตามเวลาไทย) ระบบได้เคลื่อนตัวไปทางเหนือ และขึ้นฝั่งที่ไมร์เทิลบีช, เซาท์แคโรไลนา ด้วยความเร็วลม 75 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (45 ไมล์ต่อชั่วโมง)[7] และอีกไม่กี่ชั่วโมงต่อมา อันนา มุ่งหน้าไปทางทิศเหนือและทิศตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งเหนืออย่างต่อเนื่อง พร้อมกับอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน[8]
ระหว่างเขตแดนของรัฐนอร์ทและเซาท์แคโรไลนา อันนา ได้ทำให้มีปริมาณน้ำฝนสะสมอยู่ในระดับปานกลาง มากสุดที่ 6.7 นิ้ว (170 มิลลิเมตร) ในคิงส์ตัน, นอร์ทแคโรไลนา[9] เกิดน้ำท่วมในถนนขนาดเล็กในเมืองและเกิดการการกัดเซาะชายฝั่งชายหาดของทั้งสองรัฐที่ประมาณ 0.61-1.22 เมตร (2-4 ฟุต)[10][11] ซึ่งพลังลมจากพายุโซนร้อนถูกจำกัดอยู่ในพื้นที่ชายทะเล ด้วยความเร็วลมกระโชก 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (62 ไมล์ต่อชั่วโมง) จากการสังเกตการณ์ที่เซาท์พอร์ท, นอร์ทแคโรไลนา[12] และเมื่อพายุขึ้นฝั่ง มันกลายเป็นพายุหมุนเขตร้อนที่เก่าแก่ที่สุดที่ถูกบันทึกว่าโจมตีสหรัฐอเมริกา
พายุโซนร้อนบิลล์
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 16 – 21 มิถุนายน | ||
ความรุนแรง | 70 ไมล์/ชม. (110 กม./ชม.) (1 นาที) 997 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.44 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนคลอเดตต์
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 13 – 15 กรกฎาคม | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1004 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.65 นิ้วปรอท) |
ในช่วงต้นเดือนกรกฎาคม แนวร่องคลื่นสั้นได้ฝังตัวอยู่ในลมตะวันตกที่พัดผ่านสหรัฐอเมริกา
- วันที่ 12 กรกฎาคม ระบบได้พัฒนาอยู่เหนือมหาสมุทรแอตแลนติก ใกล้กับเอาเทอร์แบงค์ ใน นอร์ทแคโรไลนา ไม่นานนักพื้นผิวต่ำก็ก่อตัวขึ้น
- วันที่ 13 กรกฎาคม ภายในกระแสน้ำอุ่นกัฟสตรีม เกิดการพาความร้อนขึ้นอย่างกระทันหัน และส่งผลให้ในเวลา 06:00 UTC ได้เกิดพายุดีเปรสชันเขตร้อนขึ้น ห่างจากเคปแฮทต์ราสไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือกึ่งตะวันออก ที่ระยะ 255 ไมล์ (410 กิโลเมตร) หกชั่วโมงต่อมา พายุดีเปรสชันได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนและได้รับชื่อว่า คลอเดตต์ การพัฒนาขึ้นอย่างฉับพลันของพายุหมุนเขตร้อนถูกคาดการณ์ไว้อย่างไม่ดี[13] และคลอเดตต์ไม่ได้รับการดำเนินงานในขณะที่เป็นพายุโซนร้อน[14] ระบบได้ฝังตัวอยู่ภายในกระแสลมตะวันตกเฉียงใต้ก่อนแนวร่องละติจูดกลาง โดยทั่วไปพายุเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ คลอเดตต์มีกำลังแรงสูงสุดในช่วงเวลาประมาณ 18:00 UTC ด้วยความเร็วลม 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) และความกดอากาศต่ำสุด 1003 มิลลิบาร์ (hPa, 29.62 นิ้วปรอท)
- วันที่ 14 กรกฎาคม ลมเฉือนที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้ระบบอ่อนกำลังลง โดยสูญเสียการพาความร้อนที่ศูนย์กลาง
- วันที่ 15 กรกฎาคม เวลา 00:00 UTC ระบบอ่อนกำลังลงไปจนเป็นเศษเล็กเศษน้อย และถูกดูดซึมเข้าสู่แนวหน้าปะทะอากาศ ทางใต้ของเกาะนิวฟันด์แลนด์[13] สภาพอากาศที่ปกคลุมไปด้วยหมอกและความชื้นในอากาศซึ่งเป็นผลจากแรงของคลอเดตต์ ส่งผลให้มีการยกเลิกเที่ยวบินและเกิดความล่าช้าในการเดินทางข้ามฝั่งในอีสเทิร์นนิวฟันด์แลนด์[15]
พายุเฮอริเคนแดนนี
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 3 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 18 – 24 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 115 ไมล์/ชม. (185 กม./ชม.) (1 นาที) 974 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 28.76 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเอริกา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 25 – 29 สิงหาคม | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนเฟรด
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 30 สิงหาคม – 6 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 85 ไมล์/ชม. (140 กม./ชม.) (1 นาที) 986 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.12 นิ้วปรอท) |
- วันที่ 27 สิงหาคม ศูนย์เฮอริเคนแห่งชาติ (NHC) ได้เริ่มติดตามคลื่นลมในเขตร้อนทางตะวันตกของแอฟริกา[16]
- วันที่ 30 สิงหาคม ฝนตกและพายุฝนฟ้าคะนองได้มีความรุนแรงขึ้นในพื้นที่ของความกดอากาศต่ำและเคลื่อนตัวเข้าสู่แอตแลนติกตะวันออก[17] และในที่สุดได้นำไปสู่การก่อตัวเป็นพายุดีเปรสชันเขตร้อน เมื่อเวลา 05:30 UTC[18] ต่อมาพายุดีเปรสชันเขตร้อนหก ได้ทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนเฟรด ต่อมาเฟรดได้ทวีกำลังแรงขึ้นไปอีก เป็นพายุเฮอริเคน และมีการเตือนภัยสำหรับกาบูเวร์ดี
พายุโซนร้อนเกรซ
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 5 – 9 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1002 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.59 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเฮนรี
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 9 – 11 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 40 ไมล์/ชม. (65 กม./ชม.) (1 นาที) 1008 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.77 นิ้วปรอท) |
พายุดีเปรสชันเขตร้อนเก้า
[แก้]พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 16 – 19 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 35 ไมล์/ชม. (55 กม./ชม.) (1 นาที) 1006 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.71 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนไอดา
[แก้]พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 18 – 27 กันยายน | ||
ความรุนแรง | 50 ไมล์/ชม. (85 กม./ชม.) (1 นาที) 1003 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.62 นิ้วปรอท) |
พายุเฮอริเคนวาคีน
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 4 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 28 กันยายน – 8 ตุลาคม | ||
ความรุนแรง | 155 ไมล์/ชม. (250 กม./ชม.) (1 นาที) 931 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 27.49 นิ้วปรอท) |
พายุโซนร้อนเคต
[แก้]พายุเฮอริเคนระดับ 1 (SSHWS) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 9 – 12 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 75 ไมล์/ชม. (120 กม./ชม.) (1 นาที) 983 มิลลิบาร์ (เฮกโตปาสกาล 29.03 นิ้วปรอท) |
รายชื่อพายุ
[แก้]รายชื่อต่อไปนี้จะใช้สำหรับพายุที่ก่อตัวในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือในปี พ.ศ. 2558 หากมีชื่อที่ถูกปลด จะมีการประกาศโดยองค์การอุตุนิยมวิทยาโลกในฤดูใบไม้ผลิ พ.ศ. 2559 และชื่อที่ไม่ได้ถูกปลดจากรายการนี้จะถูกนำกลับมาใช้อีกครั้งในปี พ.ศ. 2564 โดยรายการที่ใช้ในปีนี้เป็นรายการเดียวกับที่ใช้ในฤดูกาล พ.ศ. 2552
|
|
|
ผลกระทบ
[แก้]ตารางนี้แสดงพายุทั้งหมดที่ก่อตัวในปี พ.ศ. 2558 ซึ่งรวมระยะเวลาการก่อตัว, ชื่อ, บนบก–แสดงชื่อสถานที่เป็นตัวหนา– , ความเสียหาย และจำนวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด ส่วนการเสียชีวิตในวงเล็บคือการเสียชีวิตเพิ่มเติมและทางอ้อม (เช่นการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนถนน) แต่ที่เกี่ยวข้องกับพายุโดยตรงยังคงที่ ความเสียหายและการเสียชีวิตรวมถึงขณะที่พายุกลายเป็นเอ็กซ์ตราทรอปิคอล, คลื่น ความเสียหายทั้งหมดนับเป็นดอร์ล่าสหรัฐ ค่าเงินปี ค.ศ. 2015
ชื่อ พายุ |
วันที่ | ระดับความรุนแรง ขณะมีความรุนแรงสูงสุด |
ลมสูงสุด 1-นาที ไมล์/ชม. (กม./ชม.) |
ความกดอากาศ (มิลลิบาร์) |
พื้นที่ได้รับผลกระทบ | ความเสียหาย (ดอลลาร์สหรัฐ) |
เสียชีวิต | อ้างอิง
| |||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
อานา | 8 – 11 พฤษภาคม | พายุโซนร้อน | 60 (95) | 998 | ทางตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา | เล็กน้อย | 1 (1) | ||||
บิลล์ | 16 – 21 มิถุนายน | พายุโซนร้อน | 60 (95) | 997 | อเมริกากลาง, คาบสมุทรยูคาทัน, ภาคใต้ของสหรัฐอเมริกา และ ภาคตะวันออกของสหรัฐอเมริกา | 17.9 | 8 (1) | ||||
คลอเดตต์ | 13 – 15 กรกฎาคม | พายุโซนร้อน | 50 (85) | 1003 | ด้านตะวันออกของสหรัฐอเมริกา, เกาะนิวฟันด์แลนด์ | ไม่มี | ไม่มี | ||||
แดนนี | 18 – 24 สิงหาคม | พายุเฮอริเคนระดับ 3 | 115 (185) | 974 | เลสเซอร์แอนทิลลีส, เปอร์โตริโก | ไม่มี | ไม่มี | ||||
เอริกา | 25 – 29 สิงหาคม | พายุโซนร้อน | 50 (85) | 1003 | เลสเซอร์แอนทิลลีส, เปอร์โตริโก, เกาะฮิสปันโยลา, คิวบา, บาฮามาส, สหรัฐอเมริกาตะวันออกเฉียงใต้ | 511.7 | 36 | ||||
เฟรด | 30 สิงหาคม – 6 กันยายน | พายุเฮอริเคนระดับ 1 | 85 (140) | 989 | แอฟริกาตะวันตก, กาบูเวร์ดี | >1.1 | 9 | ||||
เกรซ | 5 – 9 กันยายน | พายุโซนร้อน | 50 (85) | 1002 | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ||||
เฮนรี | 9 – 11 กันยายน | พายุโซนร้อน | 40 (65) | 1008 | ยุโรปตะวันตก | ไม่มี | 3 | ||||
เก้า | 16 – 19 กันยายน | พายุดีเปรสชันเขตร้อน | 35 (55) | 1006 | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ||||
ไอดา | 18 –27 กันยายน | พายุโซนร้อน | 50 (85) | 1003 | ไม่มี | ไม่มี | ไม่มี | ||||
วาคีน | 28 กันยายน – 8 ตุลาคม | พายุเฮอริเคนระดับ 4 | 155 (250) | 931 | หมู่เกาะเติกส์และหมู่เกาะเคคอส, บาฮามาส, คิวบา, ไฮติ, ด้านตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา, เบอร์มิวดา, อะโซร์ส, คาบสมุทรไอบีเรีย | >60 | 34 | ||||
เคต | 9 –12 พฤศจิกายน | พายุเฮอริเคนระดับ 1 | 75 (120) | 983 | บาฮามาส, สหราชอาณาจักร, ไอร์แลนด์ | เล็กน้อย | ไม่มี | ||||
สรุปฤดูกาล | |||||||||||
12 ลูก | 8 พฤษภาคม – 12 พฤศจิกายน | 155 (250) | 931 | ≥590.7 | 88 (2) |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อฤดูพายุแอตแลนติก
- ฤดูพายุเฮอริเคนแปซิฟิก พ.ศ. 2558
- ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2558
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ พ.ศ. 2558
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้: 2557–2558, 2558–2559
- ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย: 2557-2558, 2558-2559
- ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้: 2557-2558, 2558-2559
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Michael J. Brennan (May 6, 2015). "Special Tropical Weather Outlook". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 7, 2015.
- ↑ Richard J. Pasch (May 7, 2015). "Subtropical Storm Ana Discussion Number 1". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 7, 2015.
- ↑ Eric S. Blake (May 8, 2015). "Subtropical Storm Ana Discussion Number 4". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Richard J. Pasch (May 8, 2015). "Subtropical Storm Ana Discussion Number 5". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Richard J. Pasch (May 9, 2015). "Tropical Storm Ana Discussion Number 9". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Stacy R. Stewart (May 10, 2015). "Tropical Storm Ana Discussion Number 10". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Stacy R. Stewart; David P. Roberts (May 10, 2015). "Tropical Storm Ana Tropical Cyclone Update". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Richard J. Pasch (May 10, 2015). "Tropical Storm Ana Intermediate Advisory Number 11A". National Hurricane Center. Miami, Florida: National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ National Weather Service Newport/Morehead City, North Carolina (May 11, 2015). "Public Information Statement 9:52 am EDT Monday, May 11, 2015". National Oceanic and Atmospheric Administration. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ 2015-07-29.
- ↑ James Hopkins (May 10, 2015). "Ana causes flooding, beach erosion in North Myrtle Beach". Myrtle Beach, South Carolina: WBTW News. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Stacey Pinno (May 11, 2015). "Ana causes damage to New Hanover County beaches". New Hanover County, North Carolina: WECT6. สืบค้นเมื่อ May 11, 2015.
- ↑ Public Information Statement. National Weather Service Office in Wilmington, North Carolina (Report). Wilmington, North Carolina: National Oceanic and Atmospheric Administration. May 10, 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ May 10, 2015.
- ↑ 13.0 13.1 Lixion A. Avila (August 14, 2015). Tropical Storm Claudette (PDF) (Report). Tropical Cyclone Report. Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 30, 2015.
- ↑ Daniel P. Brown (July 13, 2015). Tropical Storm Claudette Special Advisory Number 1 (Advisory). Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ September 30, 2015.
- ↑ "Post-tropical storm Claudette flight cancellations plague travellers". CBC News. July 15, 2015. สืบค้นเมื่อ July 23, 2015.
- ↑ Stacy R. Stewart (August 27, 2015). "Tropical Weather Outlook valid 8:00 pm EDT August 27, 2015". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ August 30, 2015.
- ↑ Eric S. Blake (August 29, 2015). "Tropical Weather Outlook valid 2:00 am EDT August 29, 2015". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ August 30, 2015.
- ↑ Stacy R. Stewart (August 30, 2015). "Tropical Depression Six Special Advisory Number 1". Miami, Florida: National Hurricane Center. สืบค้นเมื่อ August 30, 2015.