อักษรโมฑี
หน้าตา
อักษรโมฑี मोडी / 𑘦𑘻𑘚𑘲 | |
---|---|
ประโยคจาก Dnyaneshwari ในอักษรโมฑี | |
ชนิด | |
ช่วงยุค | ประมาณ ค.ศ. 1200 หรือประมาณ ค.ศ. 1600–ประมาณ R1950[1][2] (ทฤษฎีต้นกำเนิดสองแบบ) |
ทิศทาง | ซ้ายไปขวา |
ภาษาพูด | หลัก มราฐี บางครั้ง กงกัณ, ฮินดี, คุชราต, กันนาดา, เตลูกู และสันสกฤต[1][2] |
อักษรที่เกี่ยวข้อง | |
ระบบแม่ | |
ระบบพี่น้อง | คคุชราต, ไกถี, เทวนาครี, นันทินาครี |
ISO 15924 | |
ISO 15924 | Modi (324), Modi, Moḍī |
ยูนิโคด | |
ยูนิโคดแฝง | Modi |
ช่วงยูนิโคด | U+11600–U+1165F Final Accepted Script Proposal |
[a] ต้นกำเนิดเซมิติกของอักษรพราหมียังไม่เป็นที่ยอมรับทางสากล |
อักษรโมฑี (มราฐี: मोडी, 𑘦𑘻𑘚𑘲 Mōḍī, เสียงอ่านภาษามราฐี: [moːɖiː]) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษามราฐีในรัฐมหาราษฏระ อินเดีย อักษรนี้มีทฤษฎีต้นกำเนิดหลายแบบ[3] ประดิษฐ์เมื่อราว พ.ศ. 2200 เพื่อใช้เขียนภาษามราฐี โดยพัฒนามาจากอักษรเทวนาครี ใช้มาจนถึง พ.ศ. 2493 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรเทวนาครี[4]
ยูนิโคด
[แก้]อักษรโมฑีได้ถูกเพิ่มเข้ามาในยูนิโค้ดเวอร์ชัน 7.0 ในปี 2014 ช่วงรหัส U+11600 - U+1165F[5][6]。
Modi[7] | ||||||||||||||||
0 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | A | B | C | D | E | F | |
U+1160x | 𑘀 | 𑘁 | 𑘂 | 𑘃 | 𑘄 | 𑘅 | 𑘆 | 𑘇 | 𑘈 | 𑘉 | 𑘊 | 𑘋 | 𑘌 | 𑘍 | 𑘎 | 𑘏 |
U+1161x | 𑘐 | 𑘑 | 𑘒 | 𑘓 | 𑘔 | 𑘕 | 𑘖 | 𑘗 | 𑘘 | 𑘙 | 𑘚 | 𑘛 | 𑘜 | 𑘝 | 𑘞 | 𑘟 |
U+1162x | 𑘠 | 𑘡 | 𑘢 | 𑘣 | 𑘤 | 𑘥 | 𑘦 | 𑘧 | 𑘨 | 𑘩 | 𑘪 | 𑘫 | 𑘬 | 𑘭 | 𑘮 | 𑘯 |
U+1163x | 𑘰 | 𑘱 | 𑘲 | 𑘳 | 𑘴 | 𑘵 | 𑘶 | 𑘷 | 𑘸 | 𑘹 | 𑘺 | 𑘻 | 𑘼 | 𑘽 | 𑘾 | 𑘿 |
U+1164x | 𑙀 | 𑙁 | 𑙂 | 𑙃 | 𑙄 | |||||||||||
U+1165x | 𑙐 | 𑙑 | 𑙒 | 𑙓 | 𑙔 | 𑙕 | 𑙖 | 𑙗 | 𑙘 | 𑙙 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Bhimraoji, Rajendra (28 February 2014). "Reviving the Modi Script" (PDF). Typoday. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 December 2014.
- ↑ 2.0 2.1 Pandey, Anshuman (2011-11-05). "N4034: Proposal to Encode the Modi Script in ISO/IEC 10646" (PDF). ISO/IEC JTC1/SC2/WG2.
- ↑ "Krishnaji Mhatre – A life dedicated to Modi". Mumbai Mirror (ภาษาอังกฤษ). October 24, 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-10. สืบค้นเมื่อ 2020-08-10.
- ↑ Sohoni, Pushkar (May 2017). "Marathi of a Single Type: The demise of the Modi script". Modern Asian Studies (ภาษาอังกฤษ). 51 (3): 662–685. doi:10.1017/S0026749X15000542. ISSN 0026-749X. S2CID 148081127.
- ↑ Supported Scripts, Unicode, Inc.
- ↑ Unicode 7.0.0, Unicode, Inc., 2014-06-16
- ↑ Modi (PDF), Unicode, Inc