แพลเลเดียม
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Palladium)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
แพลเลเดียม | |||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การอ่านออกเสียง | /pəˈleɪdiəm/ | ||||||||||||||
รูปลักษณ์ | สีขาวมันวาว | ||||||||||||||
Standard atomic weight Ar°(Pd) | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
แพลเลเดียมในตารางธาตุ | |||||||||||||||
| |||||||||||||||
หมู่ | group 10 | ||||||||||||||
คาบ | คาบที่ 5 | ||||||||||||||
บล็อก | บล็อก-d | ||||||||||||||
การจัดเรียงอิเล็กตรอน | [Kr] 4d10 | ||||||||||||||
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น | 2, 8, 18, 18 | ||||||||||||||
สมบัติทางกายภาพ | |||||||||||||||
วัฏภาค ณ STP | solid | ||||||||||||||
จุดหลอมเหลว | 1828.05 K (1554.9 °C, 2830.82 °F) | ||||||||||||||
จุดเดือด | 3236 K (2963 °C, 5365 °F) | ||||||||||||||
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) | 12.023 g/cm3 | ||||||||||||||
เมื่อเป็นของเหลว (ณ m.p.) | 10.38 g/cm3 | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว | 16.74 kJ/mol | ||||||||||||||
ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ | 358 kJ/mol | ||||||||||||||
ความจุความร้อนโมลาร์ | 25.98 J/(mol·K) | ||||||||||||||
ความดันไอ
| |||||||||||||||
สมบัติเชิงอะตอม | |||||||||||||||
เลขออกซิเดชัน | 0, +1, +2, +3, +4, +5[2] (ออกไซด์เป็นเบสเล็กน้อย) | ||||||||||||||
อิเล็กโตรเนกาทิวิตี | Pauling scale: 2.20 | ||||||||||||||
พลังงานไอออไนเซชัน |
| ||||||||||||||
รัศมีอะตอม | empirical: 137 pm | ||||||||||||||
รัศมีโคเวเลนต์ | 139±6 pm | ||||||||||||||
รัศมีวานเดอร์วาลส์ | 163 pm | ||||||||||||||
เส้นสเปกตรัมของแพลเลเดียม | |||||||||||||||
สมบัติอื่น | |||||||||||||||
โครงสร้างผลึก | face-centered cubic (fcc) | ||||||||||||||
การขยายตัวจากความร้อน | 11.8 µm/(m⋅K) (ณ 25 °C) | ||||||||||||||
การนำความร้อน | 71.8 W/(m⋅K) | ||||||||||||||
สภาพต้านทานไฟฟ้า | 105.4 nΩ⋅m (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
ความเป็นแม่เหล็ก | พาราแมกเนติก[3] | ||||||||||||||
Molar magnetic susceptibility | +567.4×10−6 cm3/mol (288 K)[4] | ||||||||||||||
มอดุลัสของยัง | 121 GPa | ||||||||||||||
โมดูลัสของแรงเฉือน | 44 GPa | ||||||||||||||
Bulk modulus | 180 GPa | ||||||||||||||
Speed of sound thin rod | 3070 m/s (ณ 20 °C) | ||||||||||||||
อัตราส่วนปัวซง | 0.39 | ||||||||||||||
Mohs hardness | 4.75 | ||||||||||||||
Vickers hardness | 400–600 MPa | ||||||||||||||
Brinell hardness | 320–610 MPa | ||||||||||||||
เลขทะเบียน CAS | 7440-05-3 | ||||||||||||||
ประวัติศาสตร์ | |||||||||||||||
การตั้งชื่อ | ตั้งชื่อตามดาวเคราะห์น้อย แพลลัส หรือเทพแพลลัส อะธีนา | ||||||||||||||
การค้นพบและการแยกให้บริสุทธิ์ครั้งแรก | วิลเลียม ไฮด์ วูลลาสตัน (1802) | ||||||||||||||
ไอโซโทปของแพลเลเดียม | |||||||||||||||
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของแพลเลเดียม | |||||||||||||||
แพลเลเดียม (อังกฤษ: Palladium) เป็นธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 46 และสัญลักษณ์คือ Pd
แพลเลเดียมเป็นโลหะทรานซิชันหายาก อยู่ในกลุ่มเดียวกับแพลทินัม ซึ่งเป็นพวกโลหะมีสกุล สีขาวเงิน มีสมบัติทางเคมีคล้ายกับแพลทินัม สามารถสกัดได้จากแร่ทองแดงและนิกเกิล ใช้ประโยชน์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในอุตสาหกรรมเครื่องเพชร
คุณสมบัติ
[แก้]แพลเลเดียมอยู่ในหมู่ 10 ในตารางธาตุ:
Z | ธาตุ | จำนวนของอิเล็กตรอน/ชั้น |
---|---|---|
28 | นิกเกิล | 2, 8, 16, 2 หรือ 2, 8, 17, 1 |
46 | แพลเลเดียม | 2, 8, 18, 18, 0 |
78 | แพลตินัม | 2, 8, 18, 32, 17, 1 |
110 | ดาร์มสตัดเทียม | 2, 8, 18, 32, 32, 16, 2 |
แหล่งข้อมูล
[แก้]- Basic Information
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แพลเลเดียม
- ↑ "Standard Atomic Weights: Palladium". CIAAW. 1979.
- ↑ Palladium(V) has been identified in complexes with organosilicon compounds containing pentacoordinate palladium; see Shimada, Shigeru; Li, Yong-Hua; Choe, Yoong-Kee; Tanaka, Masato; Bao, Ming; Uchimaru, Tadafumi (2007). "Multinuclear palladium compounds containing palladium centers ligated by five silicon atoms". Proceedings of the National Academy of Sciences. 104 (19): 7758–7763. doi:10.1073/pnas.0700450104. PMC 1876520. PMID 17470819.
- ↑ Lide, D. R., บ.ก. (2005). "Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds". CRC Handbook of Chemistry and Physics (PDF) (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-03-03. สืบค้นเมื่อ 2022-10-17.
{{cite book}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ Weast, Robert (1984). CRC, Handbook of Chemistry and Physics. Boca Raton, Florida: Chemical Rubber Company Publishing. pp. E110. ISBN 0-8493-0464-4.