อักษรคุปตะ พัฒนามาจากอักษรพราหมี จัดอยู่ในกลุ่มอินเดียเหนือ พบในสมัยราชวงศ์คุปตะ ในช่วงพ.ศ. 943 อักษรนี้ยังใช้ต่อมา แม้ว่าราชวงศ์คุปตะจะหมดอำนาจลง ด้วยการรุกรานของชาวหุณ (Hun) เมื่อราว พ.ศ. 1100 อีกราว 200 ปีต่อมา อักษรนี้พัฒนาไปเป็นอักษรนคริ และอักษรสรทะ ซึ่งเป็นต้นกำเนิดของอักษร ที่ใช้ในอินเดียเหนือในปัจจุบัน

อักษรคุปตะ
(อักษรพราหมีตอนปลาย)
จารึกถ้ำโกปิกะแห่งอนันทวรมัน ในภาษาสันสกฤตและใช้อักษรคุปตะ ถ้ำบาราบาร์ ศตวรรษที่ 5 หรือ 6
ชนิด
ช่วงยุค
ช่วงแรก: ศตวรรษที่ 1[1] พัฒนารูปแบบ: ป. ค.ศ. 400–?
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภาษาพูดภาษาสันสกฤต
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
Deodhai
นาครี
ศารทา
สิทธัม
Nepal Lipi
[a] ต้นกำเนิดที่เป็นภาษาเซมิติกของอักษรพราหมีไม่ค่อยเป็นที่ยอมรับตามสากล
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

อ้างอิง

แก้
  1. Gazetteer of the Bombay Presidency, p. 30, ที่กูเกิล หนังสือ, Rudradaman’s inscription from 1st through 4th century CE found in Gujarat, India, Stanford University Archives, pages 30–45

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้