แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021
แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 (อังกฤษ: 2021 Africa Cup of Nations หรือย่อว่า AFCON 2021 หรือ CAN 2021) หรือรู้จักกันในชื่อ โททัลเอ็นเนร์จีส์ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 ด้วยเหตุผลด้านการสนับสนุน[5] เป็นการแข่งขันครั้งที่ 33 ของแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ การแข่งขันฟุตบอลชายทีมชาติของทวีปแอฟริกา ซึ่งจัดขึ้นทุก ๆ สองปี อยู่ภายใต้การดำเนินงานของสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งแอฟริกา (CAF) แคเมอรูนเป็นเจ้าภาพในการแข่งขันครั้งนี้[6] โดยจะเริ่มแข่งขันตั้งแต่วันที่ 9 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[1]
Coupe d'Afrique des Nations 2021 | |
---|---|
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | แคเมอรูน |
วันที่ | 9 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022[1] |
ทีม | 24 (จาก 1 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 6 (ใน 5 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | เซเนกัล (สมัยที่ 1) |
รองชนะเลิศ | อียิปต์ |
อันดับที่ 3 | แคเมอรูน |
อันดับที่ 4 | บูร์กินาฟาโซ |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 51 |
จำนวนประตู | 100 (1.96 ประตูต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | แว็งซ็อง อาบูบาการ์ (8 ประตู) |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ซาดีโย มาเน[2] |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | เอดัวร์ แมนดี[3] |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | Issa Kaboré[4] |
รางวัลแฟร์เพลย์ | เซเนกัล[2] |
เดิมที การแข่งขันจะดำเนินในช่วงเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม ค.ศ. 2021 อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 15 มกราคม ค.ศ. 2020 ซีเอเอฟได้ประกาศเลื่อนวันที่แข่งขันออกไปเนื่องจากสภาพอากาศที่ไม่เอื้ออำนวยในเดือนนั้น ทำให้การแข่งขันถูกกำหนดใหม่เป็นวันที่ 9 มกราคม ถึง 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021[7] แต่ในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2020 ซีเอเอฟประกาศเลื่อนวันแข่งขันอีกครั้งไปเป็นเดือนมกราคม ค.ศ. 2022 เนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 แต่การแข่งขันยังคงใช้ชื่อแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 เหมือนเดิมด้วยวัตถุประสงค์ด้านการสนับสนุน[8]
แอลจีเรีย เข้าร่วมแข่งขันในฐานะแชมป์เก่า แต่ในครั้งนี้ พวกเขาตกรอบแบ่งกลุ่ม เจ้าภาพอย่างแคเมอรูน แพ้ในรอบรองชนะเลิศหลังดวลลูกโทษแพ้อียิปต์ สุดท้ายแล้ว พวกเขาคว้าอันดับที่ 3 เซเนกัลชนะเลิศรายการนี้เป็นสมัยแรกหลังจากที่ดวลลูกโทษชนะอียิปต์ในนัดชิงชนะเลิศ
รอบคัดเลือก
แก้ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
แก้ทีม | วิธีการ เข้ารอบ |
วันที่ เข้ารอบ |
ครั้งที่ เข้ารอบ |
เข้ารอบ ครั้งล่าสุด |
ผลงานที่ดีที่สุดที่ผ่านมา | อันดับโลกฟีฟ่า ณ วันเริ่มแข่งขัน |
---|---|---|---|---|---|---|
แคเมอรูน | เจ้าภาพ / ชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ |
8 มกราคม 2019 | 20 | 2019 | ชนะเลิศ (1984, 1988, 2000, 2002, 2017) | 50 |
เซเนกัล | ชนะเลิศ กลุ่ม ไอ | 15 พฤศจิกายน 2020 | 16 | 2019 | รองชนะเลิศ (2002, 2019) | 20 |
แอลจีเรีย | ชนะเลิศ กลุ่ม เอช | 16 พฤศจิกายน 2020 | 19 | 2019 | ชนะเลิศ (1990, 2019) | 29 |
มาลี | ชนะเลิศ กลุ่ม เอ | 17 พฤศจิกายน 2020 | 12 | 2019 | รองชนะเลิศ (1972) | 53 |
ตูนิเซีย | ชนะเลิศ กลุ่ม เจ | 17 พฤศจิกายน 2020 | 20 | 2019 | ชนะเลิศ (2004) | 30 |
บูร์กินาฟาโซ | ชนะเลิศ กลุ่ม บี | 24 มีนาคม 2021 | 12 | 2017 | รองชนะเลิศ (2013) | 60 |
กินี | รองชนะเลิศ กลุ่ม เอ | 24 มีนาคม 2021 | 13 | 2019 | รองชนะเลิศ (1976) | 81 |
คอโมโรส | รองชนะเลิศ กลุ่ม จี | 25 มีนาคม 2021 | 1 | ไม่เคย | ครั้งแรก | 132 |
กาบอง | รองชนะเลิศ กลุ่ม ดี | 25 มีนาคม 2021 | 8 | 2017 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (1996, 2012) | 89 |
แกมเบีย | ชนะเลิศ กลุ่ม ดี | 25 มีนาคม 2021 | 1 | ไม่เคย | ครั้งแรก | 150 |
อียิปต์ | ชนะเลิศ กลุ่ม จี | 25 มีนาคม 2021 | 25 | 2019 | ชนะเลิศ (1957, 1959, 1986, 1998, 2006, 2008, 2010) | 45 |
กานา | ชนะเลิศ กลุ่ม ซี | 25 มีนาคม 2021 | 23 | 2019 | ชนะเลิศ (1963, 1965, 1978, 1982) | 52 |
อิเควทอเรียลกินี | รองชนะเลิศ กลุ่ม เจ | 25 มีนาคม 2021 | 3 | 2015 | อันดับที่ 4 (2015) | 114 |
ซิมบับเว | รองชนะเลิศ กลุ่ม เอช | 25 มีนาคม 2021 | 5 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (2004, 2006, 2017, 2019) | 121 |
โกตดิวัวร์ | ชนะเลิศ กลุ่ม เค | 26 มีนาคม 2021 | 24 | 2019 | ชนะเลิศ (1992, 2015) | 56 |
โมร็อกโก | ชนะเลิศ กลุ่ม อี | 26 มีนาคม 2021 | 18 | 2019 | ชนะเลิศ (1976) | 28 |
ไนจีเรีย | ชนะเลิศ กลุ่ม แอล | 27 มีนาคม 2021 | 19 | 2019 | ชนะเลิศ (1980, 1994, 2013) | 36 |
ซูดาน | รองชนะเลิศ กลุ่ม ซี | 28 มีนาคม 2021 | 9 | 2012 | ชนะเลิศ (1970) | 125 |
มาลาวี | รองชนะเลิศ กลุ่ม บี | 29 มีนาคม 2021 | 3 | 2010 | รอบแบ่งกลุ่ม (1984, 2010) | 129 |
เอธิโอเปีย | รองชนะเลิศ กลุ่ม เค | 30 มีนาคม 2021 | 11 | 2013 | ชนะเลิศ (1962) | 137 |
มอริเตเนีย | รองชนะเลิศ กลุ่ม อี | 30 มีนาคม 2021 | 2 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (2019) | 103 |
กินี-บิสเซา | รองชนะเลิศ กลุ่ม ไอ | 30 มีนาคม 2021 | 3 | 2019 | รอบแบ่งกลุ่ม (2017, 2019) | 106 |
กาบูเวร์ดี | รองชนะเลิศ กลุ่ม เอฟ | 30 มีนาคม 2021 | 3 | 2015 | รอบก่อนรองชนะเลิศ (2013) | 73 |
เซียร์ราลีโอน | รองชนะเลิศ กลุ่ม แอล | 15 มิถุนายน 2021 | 3 | 1996 | รอบแบ่งกลุ่ม (1994, 1996) | 108 |
รูปแบบการแข่งขัน
แก้มีทั้งหมด 24 ทีมที่จะได้เข้าร่วมแข่งขันในรอบสุดท้าย มีเพียงเจ้าภาพเท่านั้นที่ได้สิทธิ์ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้ายโดยอัตโนมัติ ในขณะที่ 23 ทีมที่เหลือจะต้องแข่งขันในรอบคัดเลือก ในการแข่งขันรอบสุดท้าย ทีมทั้งหมด 24 ทีมจะถูกแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม โดยในแต่ละกลุ่มจะแข่งขันแบบพบกันหมด สองทีมอันดับแรกของแต่ละกลุ่มและทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย ผู้ชนะในรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะไปพบกันในรอบก่อนรองชนะเลิศ และผู้ชนะในรอบก่อนรองชนะเลิศ จะไปพบกันในรอบรองชนะเลิศ ผู้แพ้ในรอบรองชนะเลิศจะพบกันเพื่อชิงอันดับที่สาม ส่วนผู้ชนะในรอบรองชนะเลิศจะเข้าไปชิงชนะเลิศ
ลูกบอล
แก้วันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 2021 ซีเอเอฟได้เปิดตัวลูกบอลที่จะใช้ในการแข่งขัน มีชื่อว่า "Toghu" ลูกบอลนี้ผลิตโดยบริษัทอัมโบรของอังกฤษ[9]
มาสคอต
แก้วันที่ 17 พฤษภาคม ค.ศ. 2021 ได้มีการเปิดตัวมาสคอตประจำการแข่งขันที่ยาอุนเด มีชื่อว่า "โมลา" โดยเป็นมาสคอตรูปสิงโตสวมชุดแข่งขันที่เหมือนกับชุดเหย้าของแคเมอรูน พร้อมมีคำว่า "Cameroon" และ "2021" อยู่ทั้งด้านบนและด้านล่างของชุด[10]
คณะกรรมการตัดสิน
แก้ในส่วนของคณะกรรมการตัดสินในแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021 มีผู้ตัดสินเพียงสองคนที่มาจากสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และแคริบเบียน (คอนคาแคฟ) รายชื่อด้านล่างนี้ประกอบไปด้วยผู้ตัดสิน 24 คน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 31 คน และผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโออีก 8 คน จาก 36 ประเทศ[11]
ผู้ตัดสิน
แก้- Mustapha Ghorbal
- Hélder Martins de Carvalho
- Joshua Bondo
- Pacifique Ndabihawenimana
- Blaise Yuven Ngwa
- Mahmoud El Banna
- Amin Omar
- Bamlak Tessema Weyesa
- Daniel Nii Laryea
- Bakary Gassama
- Mario Escobar (คอนคาแคฟ)
- Peter Waweru
- Boubou Traore
- Dahane Beida
- Ahmad Imtehaz Heeralall
- Rédouane Jiyed
- Jean Jacques Ndala Ngambo
- Salima Mukansanga
- Maguette N'Diaye
- Issa Sy
- Bernard Camille
- Victor Gomes
- Sadok Selmi
- Janny Sikazwe
ผู้ช่วยผู้ตัดสิน
แก้- Abdelhak Etchiali
- Mokrane Gourari
- Jerson Emiliano dos Santos
- Seydou Tiama
- Elvis Guy Noupue Nguegoue
- Carine Atezambong Fomo
- Issa Yaya
- Soulaimane Almadine
- Mahmoud Ahmed Abouelregal
- Ahmed Hossam Taha
- Sidiki Sidibe
- Liban Abdourazak Ahmed
- Gilbert Cheruiyot
- Souru Phatsoane
- Attia Amsaaed
- Lionel Andrianantenaina
- Mustapha Akarkad
- Lahcen Azgaou
- Zakaria Brinsi
- Fatiha Jermoumi
- Arsenio Maringula
- Mahamadou Yahaya
- Samuel Pwadutakam
- Olivier Safari
- Djibril Camara
- El Hadj Malick Samba
- James Fredrick Emile
- Zakhele Siwela
- Mohammed Abdallah Ibrahim
- Khalil Hassani
- Dick Okello
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ
แก้การจับสลาก
แก้เดิมมีกำหนดการจับสลากการแข่งขันรอบสุดท้ายในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2021 แต่ได้เลื่อนออกไปเป็นวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2021[1][5][12] ทีมชาติที่เข้าร่วมแข่งขัน 24 ทีม จะถูกจับสลากแบ่งออกเป็น 6 กลุ่ม
โถ 1 | โถ 2 | โถ 3 | โถ 4 |
---|---|---|---|
แคเมอรูน (เจ้าภาพ) |
กาบูเวร์ดี |
สนามแข่งขัน
แก้เนื่องจากแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ครั้งนี้เพิ่มจำนวนทีมจาก 16 เป็น 24 ทีม ทำให้ต้องมีสนามแข่งขันอย่างน้อย 6 แห่งใน 5 เมืองของแคเมอรูน[13] สนามแข่งขันทั้ง 6 แห่ง ประกอบไปด้วยรายชื่อที่แสดงในตารางด้านล่างนี้[14] นัดเปิดสนามและนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันถูกกำหนดให้แข่งขันที่สนามกีฬาโอเลมเบในยาอุนเด เป็นสนามสร้างใหม่ มีความจุ 60,000 ที่นั่ง[15]
ดูอาลา | ยาอุนเด | |||
---|---|---|---|---|
Japoma Stadium | Olembe Stadium | Stade Ahmadou Ahidjo | ||
ความจุ: 50,000 | ความจุ: 60,000 | ความจุ: 42,500 | ||
Garoua | Bafoussam | Limbe | ||
Roumdé Adjia Stadium | Kouekong Stadium | Limbe Stadium | ||
ความจุ: 30,000 | ความจุ: 20,000 | ความจุ: 20,000 | ||
ผู้เล่น
แก้รอบแบ่งกลุ่ม
แก้สองทีมอันดับแรกของแต่ละกลุ่ม ร่วมกับทีมอันดับสามที่ดีที่สุดสี่ทีม จะผ่านเข้าสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย เวลาที่ปรากฏในทุกนัดเป็นเวลาท้องถิ่น (เวลาแอฟริกาตะวันตก; UTC+1)
กลุ่มเอ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | แคเมอรูน (H) | 3 | 2 | 1 | 0 | 7 | 3 | +4 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | บูร์กินาฟาโซ | 3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 3 | 0 | 4[a] | |
3 | กาบูเวร์ดี | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4[a] | |
4 | เอธิโอเปีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 6 | −4 | 1 |
แคเมอรูน | 2–1 | บูร์กินาฟาโซ |
---|---|---|
อาบูบาการ์ 40' (ลูกโทษ), 45+3' (ลูกโทษ) | รายงาน | Sangaré 24' |
เอธิโอเปีย | 0–1 | กาบูเวร์ดี |
---|---|---|
รายงาน | J. Tavares 45+1' |
แคเมอรูน | 4–1 | เอธิโอเปีย |
---|---|---|
|
รายงาน | Hotessa 4' |
กาบูเวร์ดี | 0–1 | บูร์กินาฟาโซ |
---|---|---|
รายงาน | Bandé 39' |
กาบูเวร์ดี | 1–1 | แคเมอรูน |
---|---|---|
Rodrigues 53' | รายงาน | อาบูบาการ์ 39' |
บูร์กินาฟาโซ | 1–1 | เอธิโอเปีย |
---|---|---|
Bayala 25' | รายงาน | Kebede 52' (ลูกโทษ) |
กลุ่มบี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เซเนกัล | 3 | 1 | 2 | 0 | 1 | 0 | +1 | 5 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | กินี | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4[a] | |
3 | มาลาวี | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4[a] | |
4 | ซิมบับเว | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 4 | −1 | 3 |
หมายเหตุ :
เซเนกัล | 0–0 | กินี |
---|---|---|
รายงาน |
มาลาวี | 2–1 | ซิมบับเว |
---|---|---|
Mhango 43', 58' | รายงาน | Wadi 38' |
มาลาวี | 0–0 | เซเนกัล |
---|---|---|
รายงาน |
ซิมบับเว | 2–1 | กินี |
---|---|---|
รายงาน | เอ็น. เกอีตา 49' |
กลุ่มซี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โมร็อกโก | 3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 2 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | กาบอง | 3 | 1 | 2 | 0 | 4 | 3 | +1 | 5 | |
3 | คอโมโรส | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
4 | กานา | 3 | 0 | 1 | 2 | 3 | 5 | −2 | 1 |
โมร็อกโก | 2–0 | คอโมโรส |
---|---|---|
รายงาน |
กาบอง | 2–2 | โมร็อกโก |
---|---|---|
รายงาน |
กานา | 2–3 | คอโมโรส |
---|---|---|
รายงาน |
|
กลุ่มดี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไนจีเรีย | 3 | 3 | 0 | 0 | 6 | 1 | +5 | 9 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | อียิปต์ | 3 | 2 | 0 | 1 | 2 | 1 | +1 | 6 | |
3 | ซูดาน | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 4 | −3 | 1 | |
4 | กินี-บิสเซา | 3 | 0 | 1 | 2 | 0 | 3 | −3 | 1 |
ไนจีเรีย | 1–0 | อียิปต์ |
---|---|---|
อิเฮอานาชอ 30' | รายงาน |
ซูดาน | 0–0 | กินี-บิสเซา |
---|---|---|
รายงาน |
ไนจีเรีย | 3–1 | ซูดาน |
---|---|---|
รายงาน | Khedr 70' (ลูกโทษ) |
กินี-บิสเซา | 0–1 | อียิปต์ |
---|---|---|
รายงาน |
|
กินี-บิสเซา | 0–2 | ไนจีเรีย |
---|---|---|
รายงาน |
อียิปต์ | 1–0 | ซูดาน |
---|---|---|
Abdelmonem 35' | รายงาน |
กลุ่มอี
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | โกตดิวัวร์ | 3 | 2 | 1 | 0 | 6 | 3 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | อิเควทอเรียลกินี | 3 | 2 | 0 | 1 | 2 | 1 | +1 | 6 | |
3 | เซียร์ราลีโอน | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 | |
4 | แอลจีเรีย | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 4 | −3 | 1 |
แอลจีเรีย | 0–0 | เซียร์ราลีโอน |
---|---|---|
รายงาน |
อิเควทอเรียลกินี | 0–1 | โกตดิวัวร์ |
---|---|---|
รายงาน | Gradel 5' |
โกตดิวัวร์ | 2–2 | เซียร์ราลีโอน |
---|---|---|
รายงาน |
|
แอลจีเรีย | 0–1 | อิเควทอเรียลกินี |
---|---|---|
รายงาน |
|
โกตดิวัวร์ | 3–1 | แอลจีเรีย |
---|---|---|
|
รายงาน | Bendebka 73' |
เซียร์ราลีโอน | 0–1 | อิเควทอเรียลกินี |
---|---|---|
รายงาน | Ganet 38' |
กลุ่มเอฟ
แก้อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | มาลี | 3 | 2 | 1 | 0 | 4 | 1 | +3 | 7 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
2 | แกมเบีย | 3 | 2 | 1 | 0 | 3 | 1 | +2 | 7 | |
3 | ตูนิเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 2 | +2 | 3 | |
4 | มอริเตเนีย | 3 | 0 | 0 | 3 | 0 | 7 | −7 | 0 |
มอริเตเนีย | 0–1 | แกมเบีย |
---|---|---|
รายงาน | A. Jallow 10' |
แกมเบีย | 1–1 | มาลี |
---|---|---|
Mu. Barrow 90' (ลูกโทษ) | รายงาน | Koné 79' (ลูกโทษ) |
ตูนิเซีย | 4–0 | มอริเตเนีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
มาลี | 2–0 | มอริเตเนีย |
---|---|---|
|
รายงาน |
ตารางคะแนนของทีมอันดับสามที่ดีที่สุด
แก้อันดับ | กลุ่ม | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | เอ | กาบูเวร์ดี | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก |
1 | บี | มาลาวี | 3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
3 | เอฟ | ตูนิเซีย | 3 | 1 | 0 | 2 | 4 | 2 | +2 | 3 | |
4 | ซี | คอโมโรส | 3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 5 | −2 | 3 | |
5 | อี | เซียร์ราลีโอน | 3 | 0 | 2 | 1 | 2 | 3 | −1 | 2 | |
6 | ดี | ซูดาน | 3 | 0 | 1 | 2 | 1 | 4 | −3 | 1 |
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูได้; 4) Drawing of lots.
รอบแพ้คัดออก
แก้สายการแข่งขัน
แก้รอบ 16 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | นัดชิงชนะเลิศ | |||||||||||
23 มกราคม – Limbe | ||||||||||||||
บูร์กินาฟาโซ (ลูกโทษ) | 1 (7) | |||||||||||||
29 มกราคม – Garoua | ||||||||||||||
กาบอง | 1 (6) | |||||||||||||
บูร์กินาฟาโซ | 1 | |||||||||||||
23 มกราคม – Garoua | ||||||||||||||
ตูนิเซีย | 0 | |||||||||||||
ไนจีเรีย | 0 | |||||||||||||
2 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Ahidjo) | ||||||||||||||
ตูนิเซีย | 1 | |||||||||||||
บูร์กินาฟาโซ | 1 | |||||||||||||
25 มกราคม – Bafoussam | ||||||||||||||
เซเนกัล | 3 | |||||||||||||
เซเนกัล | 2 | |||||||||||||
30 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo) | ||||||||||||||
กาบูเวร์ดี | 0 | |||||||||||||
เซเนกัล | 3 | |||||||||||||
26 มกราคม – Limbe | ||||||||||||||
อิเควทอเรียลกินี | 1 | |||||||||||||
มาลี | 0 (5) | |||||||||||||
6 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Olembe) | ||||||||||||||
อิเควทอเรียลกินี (ลูกโทษ) | 0 (6) | |||||||||||||
เซเนกัล (ลูกโทษ) | 0 (4) | |||||||||||||
24 มกราคม – Bafoussam | ||||||||||||||
อียิปต์ | 0 (2) | |||||||||||||
กินี | 0 | |||||||||||||
29 มกราคม – Douala | ||||||||||||||
แกมเบีย | 1 | |||||||||||||
แกมเบีย | 0 | |||||||||||||
24 มกราคม – ยาอุนเด (Olembe) | ||||||||||||||
แคเมอรูน | 2 | |||||||||||||
แคเมอรูน | 2 | |||||||||||||
3 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Olembe) | ||||||||||||||
คอโมโรส | 1 | |||||||||||||
แคเมอรูน | 0 (1) | |||||||||||||
26 มกราคม – ดูอาลา | ||||||||||||||
อียิปต์ (ลูกโทษ) | 0 (3) | นัดชิงอันดับที่สาม | ||||||||||||
โกตดิวัวร์ | 0 (4) | |||||||||||||
30 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo) | 5 กุมภาพันธ์ – ยาอุนเด (Ahidjo) | |||||||||||||
อียิปต์ (ลูกโทษ) | 0 (5) | |||||||||||||
อียิปต์ (ต่อเวลา) | 2 | บูร์กินาฟาโซ | 3 (3) | |||||||||||
25 มกราคม – ยาอุนเด (Ahidjo) | ||||||||||||||
โมร็อกโก | 1 | แคเมอรูน (ลูกโทษ) | 3 (5) | |||||||||||
โมร็อกโก | 2 | |||||||||||||
มาลาวี | 1 | |||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
แก้บูร์กินาฟาโซ | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | กาบอง |
---|---|---|
B. Traoré 28' | รายงาน | Guira 90+1' (o.g.) |
ลูกโทษ | ||
7–6 |
กินี | 0–1 | แกมเบีย |
---|---|---|
รายงาน | มู. แบร์โรว์ 71' |
แคเมอรูน | 2–1 | คอโมโรส |
---|---|---|
|
รายงาน | M'Changama 81' |
เซเนกัล | 2–0 | กาบูเวร์ดี |
---|---|---|
รายงาน |
โกตดิวัวร์ | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อียิปต์ |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
4–5 |
มาลี | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อิเควทอเรียลกินี |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
5–6 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ
แก้แกมเบีย | 0–2 | แคเมอรูน |
---|---|---|
รายงาน | Toko Ekambi 50', 57' |
บูร์กินาฟาโซ | 1–0 | ตูนิเซีย |
---|---|---|
Da. Ouattara 45+3' | รายงาน |
อียิปต์ | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | โมร็อกโก |
---|---|---|
รายงาน | บูฟัล 7' (ลูกโทษ) |
เซเนกัล | 3–1 | อิเควทอเรียลกินี |
---|---|---|
รายงาน | Buyla 57' |
รอบรองชนะเลิศ
แก้บูร์กินาฟาโซ | 1–3 | เซเนกัล |
---|---|---|
Touré 82' | รายงาน |
แคเมอรูน | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อียิปต์ |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
1–3 |
นัดชิงอันดับที่สาม
แก้บูร์กินาฟาโซ | 3–3 | แคเมอรูน |
---|---|---|
|
รายงาน |
|
ลูกโทษ | ||
3–5 |
นัดชิงชนะเลิศ
แก้เซเนกัล | 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ) | อียิปต์ |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
4–2 |
สถิติ
แก้ผู้ทำประตู
แก้มีการทำประตู 100 ประตู จากการแข่งขัน 52 นัด เฉลี่ย 1.92 ประตูต่อนัด
การทำประตู 8 ครั้ง
การทำประตู 5 ครั้ง
การทำประตู 3 ครั้ง
การทำประตู 2 ครั้ง
การทำประตู 1 ครั้ง
- Sofiane Bendebka
- Hassane Bandé
- Cyrille Bayala
- Dango Ouattara
- Djibril Ouattara
- Gustavo Sangaré
- Blati Touré
- Bertrand Traoré
- Steeve Yago
- Stéphane Bahoken
- Garry Rodrigues
- Júlio Tavares
- Youssouf M'Changama
- El Fardou Ben Nabouhane
- Mohamed Abdelmonem
- เทรเซแก
- Jannick Buyla
- Pablo Ganet
- Esteban Obiang
- Dawa Hotessa
- Getaneh Kebede
- Aaron Boupendza
- André Ayew
- Richmond Boakye
- Alexander Djiku
- Naby Keïta
- Issiaga Sylla
- Max Gradel
- Sébastien Haller
- Franck Kessié
- Ibrahim Sangaré
- Massadio Haïdara
- Zakaria Aboukhlal
- Selim Amallah
- Youssef En-Nesyri
- Taiwo Awoniyi
- Samuel Chukwueze
- เกเลชี อิเฮอานาชอ
- Umar Sadiq
- Moses Simon
- William Troost-Ekong
- Abdou Diallo
- Famara Diédhiou
- Bamba Dieng
- Idrissa Gueye
- แชกู กูยาเต
- อิสมาอีลา ซาร์
- Alhaji Kamara
- Musa Noah Kamara
- Walieldin Khedr
- Seifeddine Jaziri
- Hamza Mathlouthi
- Youssef Msakni
- Kudakwashe Mahachi
- Knowledge Musona
- Ishmael Wadi
การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง
- Adama Guira (ในนัดที่พบกาบอง)
- André Onana (ในนัดที่พบบูร์กินาฟาโซ)
- Nayef Aguerd (ในนัดที่พบกาบอง)
รางวัล
แก้ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ||
---|---|---|
ซาดีโย มาเน[2] | ||
รองเท้าทองคำ | ||
แว็งซ็อง อาบูบาการ์ (8 ประตู)[2] | ||
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | ||
เอดัวร์ แมนดี[2] | ||
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | ||
Issa Kaboré[4] | ||
รางวัลการเล่นใสสะอาด | ||
เซเนกัล[2] |
ทีมยอดเยี่ยม
แก้อ้างอิง:[22]
ผู้ฝึกสอน: Aliou Cissé
ผู้รักษาประตู | กองหลัง | กองกลาง | กองหน้า |
---|---|---|---|
เอดัวร์ แมนดี | อัชร็อฟ ฮะกีมี Mohamed Abdelmonem Edmond Tapsoba Saliou Ciss |
มุฮัมมัด อันนินนี Nampalys Mendy Blati Touré |
ซาดีโย มาเน แว็งซ็อง อาบูบาการ์ มุฮัมมัด เศาะลาห์ |
การถ่ายทอดสด
แก้ตารางด้านล่างนี้แสดงรายชื่อผู้ได้รับสิทธิ์ออกอากาศการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2021:[23]
ประเทศหรือดินแดน | ผู้ได้สิทธิ์ออกอากาศ | อ้างอิง |
---|---|---|
แอลจีเรีย | แอลจีเรียน ทีวี1 | [24] |
แคเมอรูน | ซีอาร์ทีวี | [25] |
ฝรั่งเศส | บีอินสปอตส์ | [23] |
เยอรมนี | สปอร์ตดิจิทัล | [23] |
เนเธอร์แลนด์ | อีเอสพีเอ็น | [23] |
อิตาลี | ดิสคัฟเวอรีแชนแนล | [23] |
โปรตุเกส | คาแนลอีเลฟเวน | [26] |
สหราชอาณาจักร | [23] | |
แอฟริกาใต้สะฮารา | [23] | |
ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ | บีอินสปอตส์ | [23] |
เอเชียแปซิฟิก | ||
อเมริกาเหนือ | ||
อเมริกาใต้ | อีเอสพีเอ็น | [23] |
อเมริกากลางและแคริบเบียน | ||
ยุโรปเหนือ | เน็นต์กรุ๊ป | [23] |
ยุโรปตะวันออก | สปอร์ตคลับ | [23] |
ทั่วโลก | ซีเอเอฟ ทีวี (ยูทูบ) | [23] |
หมายเหตุ
แก้- ↑ การแข่งขันนัด มอริเตเนีย พบ แกมเบีย เดิมมีกำหนดแข่งขันในเวลา 17:00 แต่ได้เลื่อนออกไปเป็น 17:45 เนื่องจากเกิดปัญหาด้านเวลาแข่งขันในนัด ตูนิเซีย พบ มาลี
- ↑ เดิมนัดนี้จะแข่งขันกันที่ Olembe Stadium ในยาอุนเด แต่ภายหลังได้ย้ายสนามแข่งขันเนื่องจากเกิดภัยพิบัติสนามกีฬายาอุนเด[16][17][18]
- ↑ 3.0 3.1 เดิมนัดนี้จะแข่งขันกันที่ Japoma Stadium ในดูอาลา แต่ภายหลังได้ย้ายสนามแข่งขัน[18][19][20]
- ↑ เดิมนัดชิงอันดับที่สามมีกำหนดแข่งขันวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2022 เวลา 17:00 แต่ได้เลื่อนมาแข่งเร็วขึ้นหนึ่งวันเนื่องด้วยเหตุผลด้านความปลอดภัย[21]
อ้างอิง
แก้- ↑ 1.0 1.1 1.2 "CAF Executive Committee put infrastructures as one of the main priorities". CAF. 31 March 2021. สืบค้นเมื่อ 1 April 2021.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "Mane, Cissé, Mendy, Aboubakar take TotalEnergies AFCON individual awards". Confederation of African Football. 8 February 2022. สืบค้นเมื่อ 8 February 2022.
- ↑ @CAF_Online (6 February 2022). "The brick wall Edouard Mendy earns the best goalkeeper award in the #TotalEnergiesAFCON2021 #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 6 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 4.0 4.1 @CAF_Online (6 February 2022). "The Burkinabe Stallion Issa Kabore becomes the best young player in the #TotalEnergiesAFCON2021 #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 7 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 5.0 5.1 "CAF postpones TotalEnergies Africa Cup final draw, new date to be set soon". CAF. 6 June 2021. สืบค้นเมื่อ 7 June 2021.
- ↑ "Cameroon to host 2019, Cote d'Ivoire for 2021, Guinea 2023". CAF. 20 September 2014.
- ↑ "Statement from the Organising Committee of the Total African Cup of Nations Cameroon 2021". CAF. 15 January 2020.
- ↑ "Decisions of CAF Executive Meeting – 30 June 2020". CAF. 30 June 2020.
- ↑ Oludare, Shina (24 November 2021). "Afcon 2021: Toghu unveiled as official match ball". Goal. สืบค้นเมื่อ 2 January 2022.
- ↑ "Cameroon-Tribune.com | Toute l'actualité de l'administration BIYA du jour à la une depuis Yaoundé". www.cameroon-tribune.com. สืบค้นเมื่อ 2022-01-16.
{{cite web}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "TotalEnergies AFCON Cameroon match officials announced". Confederation of African Football. 21 December 2021.
- ↑ "CAN 2021 : Le tirage au sort prévu au 15 août prochain". 21 July 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-07. สืบค้นเมื่อ 21 July 2021.
- ↑ Bongben, Leocadia (19 July 2017). "Cameroon government moves to ease 2019 AFCON fears". BBC. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
- ↑ "The Six stadiums To Host Afcon 2021 Cameroon". camer237.com. 25 July 2019. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
- ↑ Okeleji, Oluwashina (3 December 2018). "Football: Ready or not, here we come". The Africa Report.com.
- ↑ Kouam, Joel; McCluskey, Mitchell; Klosok, Aleks (24 January 2022). "AFCON: Report into deadly stadium crush will focus on who closed gate that led to loss of lives". CNN. สืบค้นเมื่อ 25 January 2022.
- ↑ "Afcon 2021: Quarter-final at Olembe Stadium to be moved after fatal crush". BBC Sport. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 26 January 2022.
- ↑ 18.0 18.1 "CAF Organising Committee Media Statement". Confederation of African Football. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
- ↑ "Afcon 2021: Two Douala games moved to Yaounde". BBC Sport. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
- ↑ "African Cup organizers change venues for 3 knockout games". Associated Press. 26 January 2022. สืบค้นเมื่อ 27 January 2022.
- ↑ "AFCON third-place match brought forward to Saturday". BeIN Sports. 3 February 2022. สืบค้นเมื่อ 3 February 2022.
- ↑ @CAF_Online (7 February 2022). "Not your average players Here is the #TotalEnergiesAFCON2021 best XI #AFCON2021" (ทวีต). สืบค้นเมื่อ 7 February 2022 – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ 23.00 23.01 23.02 23.03 23.04 23.05 23.06 23.07 23.08 23.09 23.10 23.11 "TotalEnergies AFCON 2021 to be broadcast in over 150 countries". cafonline.com. 9 January 2022.
- ↑ "L'EPTV achète 25 matchs de la CAN-2021". La Gazette du Fennec. Mohamed Touileb. 16 August 2021.
- ↑ "La CAF annonce que la Crtv est le diffuseur hôte de la Can 2021". lebledparle.com. 21 December 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-11. สืบค้นเมื่อ 2022-01-17.
- ↑ "CAN 2021 vai ter transmissão no Canal 11". 10 January 2022. สืบค้นเมื่อ 15 January 2022.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- 2021 Africa Cup of Nations Organizing Committee (ในภาษาฝรั่งเศส)