โอลิมปิกฤดูร้อน 1984

โอลิมปิกฤดูร้อน 1984 หรือ มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 23 ซึ่งสหภาพโซเวียตได้คว่ำบาตรการแข่งขันในปีนี้ ไม่ส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขัน ส่วนหนึ่งเพื่อแก้คืนที่สหรัฐอเมริกา ส่งนักกีฬาเข้าแข่งขันกีฬาโอลิมปิคครั้งก่อนที่กรุงมอสโก ในปี ค.ศ. 1980 ส่วนหนึ่งเป็นห่วงความปลอดภัยของนักกีฬาจากประเทศตน แต่บุคคลบางกลุ่มเชื่อว่าสหภาพโซเวียตเกรงว่านักกีฬาของตนจะไม่ผ่านการทดสอบสารกระตุ้น[ต้องการอ้างอิง] ซึ่งจะทำให้ทั่วโลกรู้ถึงที่มาแห่งชัยชนะทางการกีฬาของตน[ต้องการอ้างอิง] นักกีฬาที่มีชื่อเสียงจากการแข่งขันในปีนี้ได้แก่ Carl Lewis จากสหรัฐอเมริกาโดยสามารถครอง 4 เหรียญทองจากการแข่งขัน Mary lou Retton ครองเหรียญทองยิมนาสติกมากที่สุด นอกจากนั้นยังมี Greg Louanis ซึ่งเป็นนักกีฬาคนแรกที่สามารถครองเหรียญทอง 2 เหรียญทองพร้อมกันจากการแข่งขัน Springbroad และ Platform diving

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 23
เมืองเจ้าภาพลอสแอนเจลิส  สหรัฐ
คำขวัญPlay a Part in History
ประเทศเข้าร่วม140
นักกีฬาเข้าร่วม6,800 (ชาย 5,231; หญิง 1,569)
ชนิด221 รายการ ใน 21 ชนิดกีฬา (29 ชนิดย่อย)
พิธีเปิด28 กรกฎาคม 2527
พิธีปิด12 สิงหาคม 2527
ประธานพิธีเปิด
ผู้จุดคบเพลิง
สนามกีฬาโคลิเซียมอนุสรณ์แห่งลอสแอนเจลิส
ฤดูร้อน
ฤดูหนาว
พาราลิมปิกฤดูร้อน 1984

ชนิดกีฬาที่แข่งขัน

แก้

กีฬาสาธิต

แก้

ประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

แก้
 
แผนที่แสดงประเทศที่เข้าร่วมแข่งขัน

การคว่ำบาตรการแข่งขัน

แก้
 
แผนที่แสดงประเทศคว่ำบาตรการแข่งขัน

เมื่อปี ค.ศ. 1980 นักกีฬาอเมริกันไม่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกที่กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต เนื่องจากจิมมี คาร์เตอร์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาได้สั่งถอนนักกีฬาที่ไม่ร่วมการแข่งขัน แต่สหภาพโซเวียตก็คว่ำบาตรเช่นเดียวกัน โดยไม่เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกปี ค.ศ. 1984 ที่ลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา


สรุปเหรียญการแข่งขัน

แก้
ตารางสรุปเหรียญรางวัล 10 อันดับแรก
 อันดับ  ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1   สหรัฐ 83 61 30 174
2   โรมาเนีย 20 16 17 53
3   เยอรมนีตะวันตก 17 19 23 59
4   จีน 15 8 9 32
5   อิตาลี 14 6 12 32
6   แคนาดา 10 18 16 44
7   ญี่ปุ่น 10 8 14 32
8   นิวซีแลนด์ 8 1 2 11
9   ยูโกสลาเวีย 7 4 7 18
10   เกาหลีใต้ 6 6 7 19

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 "Factsheet - Opening Ceremony of the Games of the Olympiad" (PDF) (Press release). International Olympic Committee. 9 October 2014. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2016. สืบค้นเมื่อ 22 December 2018.