ข้ามไปเนื้อหา

ซิลค์แอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซิลค์แอร์
勝安航空
IATA ICAO รหัสเรียก
MI SLK SILKAIR
ก่อตั้งค.ศ. 1975 (ในชื่อ เทรดวินส์ชาร์เตอร์ส)
เริ่มดำเนินงานค.ศ. 1992
เลิกดำเนินงาน28 มกราคม ค.ศ. 2021 (ผนวกเข้ากับสิงคโปร์แอร์ไลน์)
ท่าหลักท่าอากาศยานจางีสิงคโปร์
สะสมไมล์KrisFlyer
ขนาดฝูงบิน29
จุดหมาย51
บริษัทแม่สิงคโปร์แอร์ไลน์
สำนักงานใหญ่สิงคโปร์
บุคลากรหลักLeslie Thng (ประธานบริหาร)[1]
รายได้เพิ่มขึ้น S$902.5 ล้าน (FY 2014/15)
รายได้จากการดำเนินงาน
เพิ่มขึ้น S$40.8 ล้าน (FY 2014/15)
รายได้สุทธิ
เพิ่มขึ้น S$53.7 ล้าน (FY 2014/15)
พนักงาน
1,452 (2014)
เว็บไซต์www.silkair.com

ซิลค์แอร์ (อังกฤษ: SilkAir) เป็นสายการบินภายในภูมิภาคอันเป็นบริษัทลูกของสิงคโปร์แอร์ไลน์ มีเส้นทางบินจากสิงคโปร์ไปยัง 44 เมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อินเดีย, จีน และ ออสเตรเลีย สายการบินนี้ก่อตั้งเมื่อปี ค.ศ. 1975 ในชื่อ เทรดวินส์ชาร์เตอร์[2] โดยใช้เครื่องบินที่เช่ามาจากสิงคโปร์แอร์ไลน์ ต่อมาในปี 1989 เมื่อมีการเช่าเครื่องบินรุ่น แมคดอนเนลล์ดักลาส เอ็มดี-80 ก็ได้เปลี่ยนไปใช้เครื่องหมายการค้าในชื่อ เทรดวินส์แอร์ไลน์ ทำการบินไปยัง 6 จุดหมายได้แก่ บันดาร์เซอรีเบอกาวัน, พัทยา, ภูเก็ต และ กวนตัน ต่อมาในปี 1991 ก็เริ่มมีการปรับปรุงองค์กรขนานใหญ่ และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น ซิลค์แอร์

ซิลค์แอร์ได้ควบรวมกิจการเข้ากับสิงคโปร์แอร์ไลน์ในวันที่ 28 มกราคม ค.ศ. 2021[3]

จุดหมายปลายทาง

[แก้]

ข้อตกลงการบินร่วม

[แก้]

ซิลค์แอร์ได้ทำข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินดังต่อไปนี้:[4][5]

ฝูงบิน

[แก้]

ซิลค์แอร์เคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[16]

ฝูงบินในอดีตของซิลค์แอร์
เครื่องบิน จำนวน เที่ยวบินแรก ปลดระวาง เครื่องบินทดแทน หมายเหตุ
แอร์บัส เอ310-200 2 1993 1995 ฟอกเกอร์ 70 เช่าจากสิงคโปร์แอร์ไลน์
แอร์บัส เอ319-100 8 1999 2021 ไม่มี
แอร์บัส เอ320-200 19 1998 2021 ไม่มี
โบอิง 737-300 6 1990 1999 แอร์บัส เอ320-200 แอร์บัส เอ320-200
1 1997 ไม่มี เกิดอุบัติเหตุในเที่ยวบินที่ 185
โบอิง 737-800 17 2014 2021 โอนย้ายไปยังสิงคโปร์แอร์ไลน์
โบอิง 737 MAX 8 6 2017 2021 โอนย้ายไปยังสิงคโปร์แอร์ไลน์
ฟอกเกอร์ 70 2 1995 2000 แอร์บัส เอ320-200 จำหน่ายให้แก่เคแอลเอ็มซิตี้ฮอปเปอร์
แมคดอนเนลล์ ดักลาส เอ็มดี-87 1 1989 1991 โบอิง 737-300

อ้างอิง

[แก้]
  1. "SilkAir names new chief executive". Channel NewsAsia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-30. สืบค้นเมื่อ 7 August 2012.
  2. http://www.silkair.com/jsp/cms/en_UK/mi_global_footer/our-heritage.jsp
  3. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-27. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.
  4. "Profile on SilkAir". CAPA. Centre for Aviation. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-10-29. สืบค้นเมื่อ 2016-10-29.
  5. "Partner Airlines". SilkAir. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 February 2019.
  6. "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare With Air China". Singapore Airlines. 29 March 2016.
  7. "SilkAir - Co-operation partners - The Airpoints™ programme - Airpoints™ | Air New Zealand". Air New Zealand. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-03-15. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.
  8. "Bangkok Airways and SilkAir Announce Codeshare Agreement". Mynewsdesk (ภาษาอังกฤษ). 14 February 2012.
  9. "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare With Fiji Airways". Singapore Airlines. 17 April 2018.
  10. "Singapore Airlines and Silkair to Codeshare with Fiji Airways". Fiji Airways. 17 April 2018.
  11. "Singapore Airlines And Garuda Indonesia Expand Codeshare Operations". Singapore Airlines. 15 April 2019.
  12. "SilkAir to codeshare with Lao Airlines". Mynewsdesk (ภาษาอังกฤษ). 27 July 2016.
  13. "Malaysia Airlines And Singapore Airlines Sign Wide-Ranging Partnership Agreement". Singapore Airlines. 30 October 2019.
  14. "SIA, SilkAir And Shenzhen Airlines Sign Codeshare Agreement". Singapore Airlines. 20 May 2013.
  15. "Singapore Airlines And SilkAir To Codeshare On Vistara Flights". Singapore Airlines. 14 March 2017.
  16. "Civil Aviation Authority of Singapore". www.caas.gov.sg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-05. สืบค้นเมื่อ 2022-04-23.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]