ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ
หน้าตา
สหภาพอินเดีย Union of India | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ค.ศ. 1947–1950 | |||||||||
เมืองหลวง | นิวเดลี | ||||||||
การปกครอง | สหพันธรัฐ | ||||||||
พระมหากษัตริย์ | |||||||||
• 1947–1950 | จอร์จที่ 6 | ||||||||
ผู้สำเร็จราชการ | |||||||||
• 1947–1948 | หลุยส์ เมานต์แบ็ทแตน | ||||||||
• 1948–1950 | จักรวรรติ ราชโกปละชารี | ||||||||
นายกรัฐมนตรี | |||||||||
• 1947–1950 | ชวาหระลาล เนห์รู | ||||||||
สภานิติบัญญัติ | สภานิติบัญญัติแห่งอินเดีย | ||||||||
ยุคประวัติศาสตร์ | สงครามเย็น | ||||||||
15 สิงหาคม ค.ศ. 1950 ค.ศ. 1947 | |||||||||
22 ตุลาคม 1947 | |||||||||
• สถาปนารัฐธรรมนูญ | 26 มกราคม ค.ศ. 1950 1950 | ||||||||
พื้นที่ | |||||||||
1950 | 3,287,263 ตารางกิโลเมตร (1,269,219 ตารางไมล์) | ||||||||
สกุลเงิน | รูปี | ||||||||
|
ประเทศอินเดียในเครือจักรภพ (อังกฤษ: Dominion of India) หรือ ภารตะอธิราชยะ (ฮินดี: भारत अधिराज्य) หรือ สหภาพอินเดีย (Union of India) เป็นประเทศอินเดียภายหลังได้รับอิสรภาพจากสหราชอาณาจักรและก่อนสถาปนาเป็นสาธารณรัฐอินเดีย ตั้งแต่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1947 ถึง 26 มกราคม ค.ศ. 1950 ในยุคนี้อินเดียถือเป็นรัฐอิสระ มีอำนาจในการปกครองตนเองแต่ยังยึดถือพระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักรเป็นประมุขผ่านผู้สำเร็จราชการ ต่อมาหลังมีการสถาปนารัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐอินเดียขึ้นในปี ค.ศ. 1950[1] ประเทศอินเดียก็ล้มเลิกระบอบกษัตริย์และเปลี่ยนประมุขแห่งรัฐเป็นประธานาธิบดีแทน และประเทศอินเดียก็กลายเป็นประเทศแรกที่เป็นสมาชิกในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
ผู้สำเร็จราชการ
[แก้]ในยุคนี้ มีผู้สำเร็จราชการอินเดียอยู่สองคน คือ:
ชื่อ | ภาพ | เริ่มดำรงตำแหน่ง | ออกจากตำแหน่ง | ผู้แต่งตั้ง | |
---|---|---|---|---|---|
ผู้สำเร็จราชการอินเดียในเครือจักรภพ (ค.ศ. 1947–1950) | |||||
ไวเคานต์เมานต์แบ็ทแตนแห่งพม่า[2] (1900–1979) |
15 สิงหาคม 1947 | 21 มิถุนายน 1948 | พระเจ้าจอร์จที่ 6 | ||
จักรวรรติ ราชโกปละชารี |
21 มิถุนายน 1948 | 26 มกราคม 1950 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Winegard, Timothy C. (2011), Indigenous Peoples of the British Dominions and the First World War, Cambridge University Press, pp. 2–, ISBN 978-1-107-01493-0
- ↑ ได้รับโปรดเกล้าเป็น "เอิร์ลเมานต์แบ็ทแตนแห่งพม่า" เมื่อ 28 ตุลาคม 1947