พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี
หน้าตา
พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี Magyar Szocialista Munkáspárt | |
---|---|
ผู้นำคนแรก | ยาโนส คาดาร์ |
ผู้นำคนสุดท้าย | Rezső Nyers |
ก่อตั้ง | 31 ตุลาคม 1956 |
ถูกยุบ | 7 ตุลาคม 1989 |
ก่อนหน้า | พรรคประชาชนแรงงานฮังการี |
ถัดไป | พรรคแรงงานฮังการี, พรรคแรงงานคอมมิวนิสต์ฮังการี |
ที่ทำการ | บูดาเปสต์, สาธารณรัฐประชาชนฮังการี |
ฝ่ายเยาวชน | สันนิบาตยุวชนคอมมิวนิสต์ฮังการี |
อุดมการณ์ | คอมมิวนิสต์, มาร์กซิสต์-เลนินนิสต์, Kádárism |
จุดยืน | ซ้ายจัด |
สี | แดง, ขาว, เขียว (สีของธงชาติฮังการี) |
การเมืองฮังการี รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการี (ฮังการี: Magyar Szocialista Munkáspárt, MSzMP) เป็นพรรคการเมืองลัทธิมากซ์–เลนิน[1] ที่ปกครองสาธารณรัฐประชาชนฮังการี ระหว่าง ค.ศ. 1956 ถึง ค.ศ. 1989 พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีถูกจัดตั้งขึ้นจากรากฐานของพรรคประชาชนแรงงานฮังการี ระหว่างการปฏิวัติฮังการี ค.ศ. 1956 โดยมียาโนช กาดาร์ เป็นเลขานุการลำดับที่หนึ่ง พรรคแรงงานสังคมนิยมฮังการีควบคุมกองกำลังของตน คือ กองทัพประชาชนฮังการี
ผู้นำพรรค
[แก้]เลขานุการ/เลขานุการลำดับที่หนึ่ง
[แก้]ที่ | รูปภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
วาระ | ตำแหน่ง | หมายเหตุ | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | ยาโนช กาดาร์ (ค.ศ. 1912–1989) |
1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956[2] | 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 | เลขานุการลำดับที่ 1 | ยังเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1956–1958 และ ค.ศ. 1961–1965) | |
เลขานุการ
(ตั้งแต่วันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1985) | ||||||
2 | คาโรลี กรอสซ์ (ค.ศ. 1930–1996) |
22 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 | 26 มิถุนายน ค.ศ. 1989[3] | ยังเป็นนายกรัฐมนตรี (ค.ศ. 1987–1988) |
ประธานคณะผู้บริหารพรรค
[แก้]ที่ | รูปภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
วาระ | ตำแหน่ง | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เรเซโย นาเย(ค.ศ. 1923–2018) | 26 มิถุนายน ค.ศ. 1989 | 7 ตุลาคม ค.ศ. 1989 | Party President[4] |
- ↑ "Hungary - Ideology". www.country-data.com. สืบค้นเมื่อ 2017-04-04.
- ↑ Previously First Secretary of the disbanded Hungarian Working People's Party 25–30 October 1956.
- ↑ Continued as general secretary until 7 October 1989 but outranked by Rezső Nyers, the Chairman of the 4-man Presidency of the newly created Political Executive Committee which replaced the Politburo after 26 June 1989.
- ↑ While Grósz retained the title of General Secretary until 7 October, Nyers held the chairmanship of the Party's four-man presidency after the reorganization of the Party leadership on 26 June. This made him de facto chief executive of both the Party and the country after that date, a post he held for most of the summer of 1989.