ข้ามไปเนื้อหา

พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส
พระบรมสาทิสลักษณ์พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส ขณะมีพระชนมายุ 26 พรรษา พ.ศ. 2371
พระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลการ์วึช
ครองราชย์26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2371 - 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2377
6 ปี 69 วัน
ก่อนหน้าสมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2 แห่งโปรตุเกส
ถัดไปสมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2 แห่งโปรตุเกส
พระราชสมภพ26 ตุลาคม พ.ศ. 2345
พระราชวังหลวงเกวลูซ ลิสบอน ประเทศโปรตุเกส
สวรรคต14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409
ณ ชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ บาวาเรีย
(พระชนมายุ 64 พรรษา)
คู่อภิเษกเจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก
อันโตเนีย ฟรานซิสกา ริเบย์โร โด คาร์โม
พระราชบุตรเจ้าหญิงมาเรีย ดาส เนเวสแห่งโปรตุเกส
เจ้าชายมีแกล ดยุคแห่งบรากันซา
เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซาแห่งโปรตุเกส
เจ้าหญิงมาเรีย โจเซฟาแห่งโปรตุเกส
เจ้าหญิงอเดลกุนเดส ดัสเชสแห่งกีมาเรซ
แกรนด์ดัชเชสมารี แอนน์แห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงมาเรีย แอนโตเนียแห่งโปรตุเกส
มาเรีย อัสซันโค ริเบย์โร โด คาร์โม อี บรากังซา
พระบรมนามาภิไธย
มีแกล มาริอา ดู ปาโตรชิเนียว ฌูเอา การ์ลุช ฟรันซิสกู เด อัซซิส ซาวิเยร์ เด เปาลา เปดรู เด อัลคันตารา อันโตเนียว ราฟาแอล กาบริแอช โฌอากิง ฌูเซ กองซากา อีวาริสโต
ราชวงศ์บรากังซา
พระราชบิดาพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส
พระราชมารดาเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน
ลายพระอภิไธย

พระเจ้ามีแกลที่ 1 แห่งโปรตุเกส (โปรตุเกส: Miguel I de Portugal; 26 ตุลาคม พ.ศ. 2345 ในลิสบอน - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409 ในชลูส์ คาร์ลส์โฮเฮ, บาวาเรีย) ทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า "ผู้สมบูรณาญาสิทธิ์" (o Absolutista) หรือ "ผู้อนุรักษนิยม" (o Tradicionalista) ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรโปรตุเกสระหว่างปีพ.ศ. 2371 ถึงพ.ศ. 2377 เป็นพระราชบุตรพระองค์ที่ 7 และพระราชโอรสพระองค์ที่ 3 ในพระเจ้าโจเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกสกับเจ้าหญิงคาร์ลอตา โจวควินาแห่งสเปน

หลังจากที่ทรงลี้ภัยซึ่งมีผลมาจากทรงมีส่วนร่วมในปฏิบัติการกบฏเมษายน อิงฟังตึมีแกลเสด็จกลับโปรตุเกสในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในพระราชนัดดาของพระองค์ สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2 แห่งโปรตุเกสและเพื่อจะทรงมาเป็นพระราชสวามีของพระราชนัดดา ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ พระองค์ทรงอ้างสิทธิในราชบัลลังก์โปรตุเกสเนื่องจากตามที่เรียกว่ากฎหมายพื้นฐานแห่งราชอาณาจักรของพระเชษฐาของพระองค์ พระเจ้าเปดรูที่ 4 แห่งโปรตุเกส และนั่นจึงทำให้พระราชธิดาของพระเจ้าเปดรูต้องสูญเสียสิทธิในช่วงเวลาที่พระเจ้าเปดรูได้ทำสงครามกับโปรตุเกสและกลายเป็นพระประมุขในรัฐอธิปไตยต่างชาติ (จักรวรรดิบราซิล) อิงฟังตึมีแกลทรงปราบดาภิเษกเป็น พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส เหตุนี้จึงนำไปสู่สถานการณ์ทางการเมืองที่ยุ่งยาก โดยมีผู้คนจำนวนมากถูกสังหาร, จับกุม, ข่มเหง หรือถูกเนรเทศ และที่ซึ่งนำไปสู่จุดสูงสุดที่เรียกว่า สงครามเสรีนิยมโปรตุเกส ระหว่างกลุ่มเผด็จการสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับกลุ่มรัฐธรรมนูญก้าวหน้า ในที่สุด พระเจ้ามีแกลทรงพ่ายแพ้และทรงถูกขับออกจากราชบัลลงก์และทรงดำรงพระชนม์ชีพอีก 32 ปีในการถูกเนรเทศ

พระมเหสีและพระโอรสธิดา

[แก้]

เจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก

[แก้]

ในปีพ.ศ. 2394 พระองค์ทรงอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงอเดเลดแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก ซึ่งมีพระราชโอรสหนึ่งพระองค์และพระราชธิดาหกพระองค์ร่วมกัน ได้แก่

  พระนาม ประสูติ สิ้นพระชนม์ คู่สมรส และพระโอรส-ธิดา
เจ้าหญิงมาเรีย ดาส เนเวสแห่งโปรตุเกส 18525 สิงหาคม
พ.ศ. 2395
194115 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2484
อภิเษกสมรส วันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2414 กับ
เจ้าชายอัลฟองโซ คาร์ลอส ดยุคแห่งซานไจมี ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์สเปนสายการ์ลิสต์

ไม่มีพระโอรสธิดา (มีพระครรภ์แต่ทรงแท้ง)
เจ้าชายมิเกล ดยุกแห่งบรากันซา 185319 กันยายน
พ.ศ. 2396
192711 ตุลาคม
พ.ศ. 2470
อภิเษกสมรสครั้งที่ 1 วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2420 กับ
เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งเทิรนส์แอนด์ทาซิส
มีพระโอรสธิดา 3 พระองค์ ได้แก่
เจ้าชายมีแกล ดยุคแห่งวิสซู
เจ้าชายฟรานซิส โจเซฟแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซาแห่งบรากังซา

อภิเษกสมรสครั้งที่ 2 วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 กับ
เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซาแห่งโลเวนสไตน์-เวิร์ทเฮล์ม-โรเซนเบิร์ก
มีพระโอรสธิดา 8 พระองค์ ได้แก่
เจ้าหญิงอิซาเบล มาเรียแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาเรีย เบเนดิกตาแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาฟาลดาแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาเรีย อันนาแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาเรีย แอนโทเนียแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงฟิลิปปา มาเรียแห่งบรากังซา
เจ้าชายดูอาร์เต นูโน ดยุกแห่งบรากันซา
เจ้าหญิงมาเรีย อเดเลดแห่งบรากังซา
เจ้าหญิงมาเรีย เทเรซาแห่งโปรตุเกส 185524 สิงหาคม
พ.ศ. 2398
194412 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2487
อภิเษกสมรส วันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2420 กับ
อาร์ชดยุกคาร์ล ลุดวิกแห่งออสเตรีย
มีพระธิดา 2 พระองค์ ได้แก่
อาร์ชดัชเชสมาเรีย แอนนันซิเอต้าแห่งออสเตรีย
อาร์ชดัชเชสเอลีซาเบ็ท อมาเลียแห่งออสเตรีย
เจ้าหญิงมาเรีย โจเซฟาแห่งโปรตุเกส 185719 มีนาคม
พ.ศ. 2400
194311 มีนาคม
พ.ศ. 2486
อภิเษกสมรส วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2417 กับ
คาร์ล ธีโอดอร์ ดยุคในบาวาเรีย
มีพระโอรสธิดา 5 พระองค์ ได้แก่
เจ้าหญิงโซฟี อเดลเฮด
สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธแห่งเบลเยียม
ดัชเชสมาเรีย กาเบรียลในบาวาเรีย
ดยุคลุดวิก วิลเฮล์มในบาวาเรีย
เจ้าชายฟรานซ์ โจเซฟ
เจ้าหญิงอเดลกุนเดส ดัสเชสแห่งกีมาเรซ 185810 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2401
194615 เมษายน
พ.ศ. 2489
อภิเษกสมรส วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2419 กับ
เจ้าชายอองรี เคานท์แห่งบาร์ดี

ไม่มีพระโอรสธิดา (มีพระครรภ์ 9 ครั้ง แต่ทรงแท้งทั้งหมด)
เจ้าหญิงมารี แอนน์ แกรนด์ดัชเชสแห่งลักเซมเบิร์ก 186113 กรกฎาคม
พ.ศ. 2404
194231 กรกฎาคม
พ.ศ. 2485
อภิเษกสมรส วันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2436 กับ
แกรนด์ดยุกวิลเล็มที่ 4 แห่งลักเซมเบิร์ก
มีพระธิดา 6 พระองค์ ได้แก่
แกรนด์ดัชเชสมารี-อเดเลดแห่งลักเซมเบิร์ก
แกรนด์ดัชเชสชาร์ล็อตแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงฮิลดาแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงแอนโทเนียแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงโซฟีแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าหญิงมาเรีย แอนโตเนียแห่งโปรตุเกส 186228 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2405
195914 พฤษภาคม
พ.ศ. 2502
อภิเษกสมรส วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2427 กับ
โรเบิร์ตที่ 1 ดยุคแห่งปาร์มา
มีพระโอรสธิดา 12 พระองค์ ได้แก่
เจ้าหญิงมาเรีย เดลลา เนเว อเดเลดแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าชายซิกซ์ตุสแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าชายซาเวียร์แห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงฟรานซิสกาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงซีตาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าชายเฟลิกซ์แห่งบูร์บง-ปาร์มา เจ้าชายพระราชสวามีแห่งลักเซมเบิร์ก
เจ้าชายเรอเนแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงมาเรีย แอนโทเนียแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงอิซาเบลลาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าชายลุยกิแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าหญิงเฮนเรียตตา แอนนาแห่งบูร์บง-ปาร์มา
เจ้าชายตอมัสแห่งบูร์บง-ปาร์มา

อันโตเนีย ฟรานซิสกา ริเบย์โร โด คาร์โม

[แก้]

พระองค์ทรงมีความสัมพันธ์อย่างลับๆกับอันโตเนีย ฟรานซิสกา ริเบย์โร โด คาร์โม มีธิดาร่วมกัน 1 คน ได้แก่

  พระนาม ประสูติ สิ้นพระชนม์ หมายเหตุ
มาเรีย อัสซันโค ริเบย์โร โด คาร์โม อี บรากังซา 1831มีนาคม
พ.ศ. 2374
191018 พฤศจิกายน
พ.ศ. 2453
พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกสทรงรับเธอเป็นธิดาของพระองค์ในปีพ.ศ. 2382 เธอจึงเป็นบุตรกึ่งนอกฎหมาย

พระราชตระกูล

[แก้]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
16. พระเจ้าเปดรูที่ 2 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
8. พระเจ้าฌูเอาที่ 5 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
17. เจ้าหญิงมาเรีย โซเฟียแห่งพาลาทิเนต-เนาบูร์ก
 
 
 
 
 
 
 
4. พระเจ้าเปดรูที่ 3 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
18. จักรพรรดิเลโอพ็อลท์ที่ 1 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
 
 
 
 
 
 
 
9. อาร์ชดัสเชสมาเรีย อันนาแห่งออสเตรีย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
19. เจ้าหญิงเอเลโอนอร์ แม็กดาเลนแห่งเนาบูร์ก
 
 
 
 
 
 
 
2. พระเจ้าฌูเอาที่ 6 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20. พระเจ้าฌูเอาที่ 5 แห่งโปรตุเกส(=8)
 
 
 
 
 
 
 
10. พระเจ้าฌูเซที่ 1 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
21. อาร์ชดัสเชสมาเรีย อันนาแห่งออสเตรีย(=9)
 
 
 
 
 
 
 
5. สมเด็จพระราชินีนาถมารีอาที่ 1 แห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
22. พระเจ้าเฟลิเปที่ 5 แห่งสเปน
 
 
 
 
 
 
 
11. อินฟันตามาเรียนา บิกโตเรียแห่งสเปน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
23. เอลีซาเบตตา ฟาร์เนเซ
 
 
 
 
 
 
 
1. พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
24. พระเจ้าเฟลิเปที่ 5 แห่งสเปน(=22)
 
 
 
 
 
 
 
12. พระเจ้าการ์โลสที่ 3 แห่งสเปน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
25. เอลีซาเบตตา ฟาร์เนเซ(=23)
 
 
 
 
 
 
 
6. พระเจ้าการ์โลสที่ 4 แห่งสเปน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
26. สมเด็จพระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์
 
 
 
 
 
 
 
13. เจ้าหญิงมาเรีย อเมเลียแห่งแซ็กโซนี
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
27. อาร์ชดัสเชสมาเรีย โยเซฟาแห่งออสเตรีย
 
 
 
 
 
 
 
3. อินฟันตาการ์โลตา โฆอากินาแห่งสเปน
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
28. พระเจ้าเฟลิเปที่ 5 แห่งสเปน(=22)
 
 
 
 
 
 
 
14. เจ้าชายฟิลิป ดยุคแห่งปาร์มา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
29. เอลีซาเบตตา ฟาร์เนเซ(=23)
 
 
 
 
 
 
 
7. เจ้าหญิงมารีอา ลุยซาแห่งปาร์มา
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
30. พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส
 
 
 
 
 
 
 
15. เจ้าหญิงหลุยส์ เอลีซาแบ็ตแห่งฝรั่งเศส
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
31. เจ้าหญิงมารี เลสซ์ไซน์สกาแห่งโปแลนด์
 
 
 
 
 
 

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

หมายเหตุ

แหล่งข้อมูล

  • Duchess of Abrantes (1838). Souvenirs d'une ambassade et d'un séjour en Espagne et en Portugal de 1808 a 1811, 1838 (ภาษาฝรั่งเศส) (2nd ed.). Brussels, Belgium: Societé Belge de Libraire, Etc./Hauman, Cattoir et Comp.
  • Birmingham, David (1993). A Concise History of Portugal (2nd ed.). Cambridge, England: University of Cambridge. ISBN 0-521-83004-4.
  • Cheke, Marcus (1969) [1947]. Carlota Joaquina, Queen of Portugal. London, England: Sidgewick & Jackson. ISBN 9780836950403.
  • Domingues, Mário (1972). Junot em Portugal [Junot in Portugal] (ภาษาโปรตุเกส). Lisbon, Portugal: Romano Torres.
  • Edmundo, Luiz (1939). A Corte de D. João no Rio de Janeiro [The Court of D. João VI in Rio de Janeiro] (ภาษาโปรตุเกส). Rio de Janeiro: Imprensa Nacional.
  • Fernandes, Paulo Jorge; Menses, Filipe Ribeiro de; Baioâ, Manuel (Summer 2003). "The Political History of Nineteenth Century Portugal" (PDF). e-Journal of Portuguese History. Providence, Rhode Island: Brown University. 1 (1).
  • Gandria, João Nogueira (1834). Dialogo de hum corcunda, com hum liberal, sobre o protesto de D. Miguel (ภาษาโปรตุเกส). Porto, Portugal: Imprensa de Gandria & Filhos.
  • Luz Soriano, Simão José da (1884). História da Guerra Civil e do Estabelecimento do Governo Parlamentar em Portugal (ภาษาโปรตุเกส). Lisbon, Portugal: Imprensa Nacional.
  • Luz Soriano, Simão José da (2010) [1866]. Historia de El'Rei D. João VI (1866) [History of the King D. João VI (1866)] (ภาษาโปรตุเกส). Kessinger Publishing. ISBN 978-1-160-90554-1.
  • Macaulay, Neill (1986). Dom Pedro: The Struggle for Liberty in Brazil and Portugal, 1798–1834. Durham, North Carolina: Duke University Press. ISBN 0-8223-0681-6.
  • Pereira, Sara Marques (1999). D. Carlota e os 'Espelhos de Clio': Actuação política e figurações histográficas [D. Carlota and the 'Mirros of Clio': Politicos and Histrography] (ภาษาโปรตุเกส). Lisbon, Portugal: Livros Horizonte.
  • Rocha, António Silva Lopes (1829). Unjust Proclamation of His Serene Highness The Infante Don Miguel as King of Portugal or Analysis and Juridical Refutation of the Act Passed by the Denominated Three States of the Kingdom of Portugal on the 11th of July, 1828; Dedicated to the Most High and Powerful, Dona Maria II. Queen Regnant of Portugal. London, England: R. Greenlaw.
  • "Reaction of D. Miguel; The Civil Wars, 1826–1834". History of Portugal: pamphlet collection. Cambridge, England: Cambridge University Press. 1662. pp. 412–421.
  • Russell, William (1842). The History of Modern Europe: of the Roman Empire; and a View of the Progress of Society, from the Peace of Paris in 1763, In a Series of Letters from a Nobleman to His Son. Vol. 4. London, England: Longman, Brown & Co.
  • Serrão, Joaquim Veríssimo (1977). História de Portugal: O terceiro liberalismo (1851–1890). Lisbon, Portugal: Editorial Verbo.
  • Silva, Francisco Ribeiro da (2004). Estudios em homenagem a Luís António de Oliveira Ramos. Porto, Portugal: Universidade do Porto.
  • Wilcken, Patrick (Spring 2005). "A Colony of a Colony: The Portuguese Royal Court in Brazil". Common Knowledge. 11 (2): 249–263. doi:10.1215/0961754X-11-2-249.
  • Wilcken, Patrick (2005). O Império à Deriva [Empire Adrift: The Portuguese Court in Rio de Janeiro]. Oporto, Portugal: Civilização Editora. ISBN 972-26-2252-8.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
ก่อนหน้า พระเจ้ามีแกลแห่งโปรตุเกส ถัดไป
สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2
พระมหากษัตริย์แห่งโปรตุเกสและอัลเกรฟ
(26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2371 - 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2377)
สมเด็จพระราชินีนาถมาเรียที่ 2
ทรงถูกปลดออกจากราชบัลลังก์
ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์โปรตุเกส
(6 พฤษภาคม พ.ศ. 2377 - 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2409)
มีแกลที่ 2