ฟุตบอลทีมชาติมอลตา
หน้าตา
ฉายา | อัศวินแห่งมอลตา, Ħomor (Reds), Falcons | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลมอลตา | ||
สมาพันธ์ | ยูฟ่า (ยุโรป) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | Michele Marcolini | ||
กัปตัน | สตีฟ บอร์ก | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | มิชาเอล มัฟซุด (143) | ||
ทำประตูสูงสุด | มิชาเอล มัฟซุด (42) | ||
สนามเหย้า | สนามตาอาลี | ||
รหัสฟีฟ่า | MLT | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 172 1 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 66 (กันยายน 1994, กันยายน 1995) | ||
อันดับต่ำสุด | 191 (กรกฎาคม 2017, กันยายน 2017) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
มอลตา 2–3 ออสเตรีย (Gżira ประเทศมอลตา; 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1957) | |||
ชนะสูงสุด | |||
มอลตา 7–1 ลีชเทินชไตน์ (ตาอาลี ประเทศมอลตา; 26 มีนาคม ค.ศ. 2008) | |||
แพ้สูงสุด | |||
สเปน 12–1 มอลตา (เซบิยา ประเทศสเปน; 21 ธันวาคม ค.ศ. 1983) | |||
เว็บไซต์ | mfa.mt |
ฟุตบอลทีมชาติมอลตา (มอลตา: Tim nazzjonali tal-futbol ta' Malta) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศมอลตา อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลมอลตาที่ทำหน้าที่บริหารฟุตบอลในประเทศมอลตา
การแข่งขันนัดแรกของมอลตาคือการพ่ายแพ้ต่อออสเตรียในนัดกระชับมิตร 2–3 เมื่อ ค.ศ. 1957[2] ห้าปีถัดมา มอลตาได้แข่งขันในรอบคัดเลือกฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1964 ในนัดที่พบกับเดนมาร์ก[3]
นับตั้งแต่ที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกของยูฟ่าใน ค.ศ. 1960 และฟีฟ่าใน ค.ศ. 1959[4] มอลตาไม่เคยผ่านรอบคัดเลือกไปเล่นในรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลกหรือฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปเลย
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.
- ↑ Baldacchino, Carmel (6 February 2007). "Malta's late rally thrills home crowd on debut". Times of Malta. สืบค้นเมื่อ 7 October 2018.
- ↑ "National Team All Time Results". Malta Football Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-06. สืบค้นเมื่อ 2 September 2011.
- ↑ "Member associations – Malta". UEFA. สืบค้นเมื่อ 7 October 2018.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ฟุตบอลทีมชาติมอลตา