ข้ามไปเนื้อหา

รัฐหิมาจัลประเทศ

พิกัด: 31°6′12″N 77°10′20″E / 31.10333°N 77.17222°E / 31.10333; 77.17222
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รัฐหิมาจัลประเทศ
ที่มาของชื่อ: หิมาจัล (แปลว่า 'ภูเขาที่มีหิมะปกคลุม') และ ประเทศ (แปลว่า 'เขตแดน')
Himachal Pradesh
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
แผนที่รัฐ
แผนที่รัฐ
พิกัด (ศิมลา): 31°6′12″N 77°10′20″E / 31.10333°N 77.17222°E / 31.10333; 77.17222
รัฐ อินเดีย
ตั้งในฐานะดินแดนสหภาพ1 พฤศจิกายน 1956
ตั้งในฐานะรัฐ25 มกราคม 1971
เมืองหลวงศิมลา
ธรรมศาลา
12 อำเภอ
การปกครอง
 • องค์กรรัฐบาลรัฐหิมาจัลประเทศ
 • ผู้ว่าการรัฐBandaru Dattatreya[1]
 • ตุลาการลิงคาปปา นารายัณ สวามี[2]
 • มุขยนายกชัย ราม ฐากูร (BJP)
 • นิติบัญญัติสภาเดี่ยว[3] (68 ที่)
 • รัฐสภาราชยสภา 3
โลกสภา 4
พื้นที่
 • ทั้งหมด55,673 ตร.กม. (21,495 ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่ที่ 17[4]
ประชากร
 (2011)[5]
 • ทั้งหมด6,864,602 คน
 • อันดับที่ 21
 • ความหนาแน่น123 คน/ตร.กม. (320 คน/ตร.ไมล์)
ภาษา
 • ทางการภาษาฮินดี[6]
 • ทางการเพิ่มเติมภาษาสันสกฤต[7]
เขตเวลาUTC+05:30 (IST)
รหัส ISO 3166IN-HP
HDI (2018)เพิ่มขึ้น0.725[8] (High) · 8th
การรู้หนังสือเพิ่มขึ้นเป็นกลาง 86.06%[9]
เว็บไซต์www.himachal.nic.in
ยกสถานะขึ้นเป็นรัฐผ่าน State of Himachal Pradesh Act, 1970

หิมาจัลประเทศ (ฮินดี: हिमाचल प्रदेश, ออกเสียง: [ɦɪˈmaːtʃəl pɾəˈdeːʃ] ( ฟังเสียง); แปลว่า เขตแดนแห่งภูเขาที่มีหิมะปกคลุม) เป็นรัฐในประเทศอินเดียตอนบน ตั้งอยู่ในส่วนหนึ่งของหิมาลัยตะวันตก และเป็นหนึ่งในสิบเอ็ดรัฐหิมาลัยของอินเดีย มีภูมิประเทศสุดขั้วประกอบด้วยยอดเขาและระบบแม่น้ำมากมาย หิมาจัลประเทศมีพรมแดนติดต่อกับดินแดนสหภาพชัมมูและกัศมีร์และดินแดนสหภาพลาดักทางเหนือ, รัฐปัญจาบทางตะวันตก, รัฐหรยาณาทางตะวันตกเฉียงใต้ และรัฐอุตตราขัณฑ์และรัฐอุตตรประเทศทางใต้ รวมถึงมีพรมแดนติดต่อกับทิเบตซึ่งถูกจีนยึดครอง

อ้างอิง

[แก้]
  1. Reddy, R. Ravikanth (1 September 2019). "Telangana's 'people's leader' Bandaru Dattatreya appointed Himachal Pradesh Governor". The Hindu (ภาษาIndian English). สืบค้นเมื่อ 1 September 2019.
  2. IANS (6 October 2019). "Justice Lingappa Narayana Swamy Takes Oath As Himachal Chief Justice". NDTV.com. สืบค้นเมื่อ 6 October 2019.
  3. "Himachal Pradesh Vidhan Sabha". Hpvidhansabha.nic.in. 18 เมษายน 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 กรกฎาคม 2011. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2011.
  4. Statistical Facts about India, indianmirror.com, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 ตุลาคม 2006, สืบค้นเมื่อ 26 ตุลาคม 2006
  5. "Himachal Pradesh Profile" (PDF). Census of India. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2016. สืบค้นเมื่อ 27 May 2016.
  6. "Report of the Commissioner for linguistic minorities: 52nd report (July 2014 to June 2015)" (PDF). Commissioner for Linguistic Minorities, Ministry of Minority Affairs, Government of India. pp. 33–34. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 December 2017. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
  7. Pratibha Chauhan (17 February 2019). "Bill to make Sanskrit second official language of HP passed". The Tribune. Shimla. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 February 2019. สืบค้นเมื่อ 18 February 2019.
  8. "Sub-national HDI – Area Database". Global Data Lab (ภาษาอังกฤษ). Institute for Management Research, Radboud University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2018. สืบค้นเมื่อ 25 September 2018.
  9. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India, Ministry of Home Affairs, "6. State of Literacy" (PDF), 2011 Census of India - Results, Government of India, เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 6 July 2015, สืบค้นเมื่อ 13 February 2022, [Statement 22(a)] Effective literacy rates – persons: 74.04%; males: 82.14%; females: 65.46%