อักเกรกาท 4
อักเกรกาท 4 Aggregat 4 | |
---|---|
แบบจำลองขีปนาวุธ วี-2 | |
ชนิด | ขีปนาวุธ |
แหล่งกำเนิด | ไรช์เยอรมัน |
บทบาท | |
ประจำการ | 1944–1952 |
ผู้ใช้งาน | ไรช์เยอรมัน สหราชอาณาจักร (หลังสงคราม) สหรัฐ (หลังสงคราม) สหภาพโซเวียต (หลังสงคราม) |
ประวัติการผลิต | |
ผู้ออกแบบ | ศูนย์วิจัยกองทัพบกพีเนมุนด์ |
บริษัทผู้ผลิต | Mittelwerk GmbH |
มูลค่า | 100,000 RM January 1944, 50,000 RM March 1945[1] |
ช่วงการผลิต | 16 March 1942- 1945 (Germany) some assembled post war. |
ข้อมูลจำเพาะ | |
มวล | 12,500 กิโลกรัม |
ความยาว | 14 เมตร |
เส้นผ่าศูนย์กลาง | 1.65 m (5 ft 5 in) |
หัวรบ | 1,000 kg (2,200 lb) Amatol |
กลไกการจุดชนวน | ระเบิดเมื่อพุ่งชนเป้าหมาย |
ความยาวระหว่างปลายปีก | 3.56 m (11 ft 8 in) |
จรวด | 3,810 kg (8,400 lb) 75% ethanol/25% water 4,910 kg (10,820 lb) liquid oxygen |
พิสัยปฏิบัติการ | 320 กิโลเมตร |
ความสูงปฏิบัติการ | 88 km (55 mi) maximum altitude on long range trajectory, 206 km (128 mi) maximum altitude if launched vertically. |
ความเร็ว | ความเร็วสูงสุด: 5,760 กิโลเมตร/ชั่วโมง ความเร็วขณะพุ่งชนเป้าหมาย: 2,880 กิโลเมตร/ชั่วโมง |
ระบบนำวิถี | ใช้ไจโรสโคประบุทิศทาง |
ฐานยิง | ฐานปล่อยขีปนาวุธ |
อาวุธแก้แค้น 2 (เยอรมัน: Vergeltungswaffe 2) หรือชื่อตามเอกสารคือ อักเกรกาท 4 (Aggregat 4) หรือชื่อที่นิยมเรียกคือ จรวด วี-2 (V-2 rocket) เป็นขีปนาวุธนำวิถีพิสัยไกลแบบแรกของโลก[2] ขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์จรวดเชื้อเพลิงเหลว ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองในประเทศเยอรมนีโดยมีเป้าหมายเฉพาะเจาะจงที่กรุงลอนดอนและต่อมาที่แอนต์เวิร์ป
จรวดวีสองถือเป็นสิ่งประดิษฐ์แบบแรกของของมนุษย์ที่สามารถบินออกนอกเส้นคาร์มาน ซึ่งเป็นเส้นแบ่งห้วงอากาศกับห้วงอวกาศ[3] มันเป็นต้นกำเนิดของจรวดสมัยใหม่[4] รวมทั้งผู้ที่นำมาใช้ในโครงการอวกาศโดยสหรัฐอเมริกาและสหภาพโซเวียต ในระหว่างผลพวงของสงครามโลกครั้งที่สองรัฐบาลอเมริกัน, โซเวียต และอังกฤษทั้งหมดได้เข้าถึงจรวด V-2 ซึ่งการออกแบบทางเทคนิคนั้นได้ผลดีเช่นเดียวกับที่นักวิทยาศาสตร์เยอรมันที่เคยรับผิดชอบในการสร้างจรวดที่สามารถสร้างมันขึ้นมาใช้งานได้ผลจริง ๆ มาแล้ว
จรวดวีสองประสบความสำเร็จในการทดสอบครั้งแรกในวันที่ 3 ตุลาคม 1942 โดยถูกปล่อยจากแท่นทดสอบที่ 6 ที่สนามบินเพเนอมึนเดอ เยอรมนี
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Kennedy, Gregory P. (1983). Vengeance Weapon 2: The V-2 Guided Missile. Washington, DC: Smithsonian Institution Press. pp. 27, 74.
- ↑ 'Long-range' in the context of the time. See NASA history article. เก็บถาวร 2009-01-07 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ Peenemünde', Walter Dornberger, Moewig, Berlin 1984. ISBN 3-8118-4341-9.
- ↑ NOVA science programme(s). Sputnik Declassified. Public Broadcasting Service (PBS). 2008.
แหล่งข้อมูล
[แก้]- Oberg, Jim; Sullivan, Dr. Brian R (original draft) (March 1999). "'Space Power Theory". U.S. Air Force Space Command: Government Printing Office. p. 143. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2009. สืบค้นเมื่อ 28 November 2008. 24,000 fighters could have been produced instead of the inaccurate V-weapons.
- Harris, Arthur T; Cox, Sebastion (1995). Despatch on War Operations: 23rd February, 1942, to 8th May, 1945. p. xliii. ISBN 0-7146-4692-X. สืบค้นเมื่อ 4 July 2008.
- King, Benjamin; Kutta, Timothy J. (1998). Impact: The History of Germany's V-Weapons in World War II. Rockville Centre, New York: Sarpedon Publishers. ISBN 1-885119-51-8. (Alternately: Impact: An Operational History of Germany's V Weapons in World War II.) Staplehurst, Kent: Spellmount Publishers. ISBN 1-86227-024-4. Da Capo Press; Reprint edition, 2003: ISBN 0-306-81292-4.
- Ramsey, Syed (2016). Tools of War: History of Weapons in Modern Times. Vij Books India Pvt Ltd. ISBN 978-93-86019-83-7.
- Neufeld, Michael J. (1995). The Rocket and the Reich: Peenemünde and the Coming of the Ballistic Missile Era. New York: The Free Press. ISBN 9780029228951.
- Ordway, Frederick I, III; Sharpe, Mitchell R (1979). The Rocket Team. Apogee Books Space Series 36. New York: Thomas Y. Crowell. ISBN 1-894959-00-0.
- Zaloga, Steven (2003). V-2 Ballistic Missile, 1942–52. New Vanguard. Oxford: Osprey Publishing. ISBN 978-1-84176-541-9.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Dungan, Tracy D. (2005). V-2: A Combat History of the First Ballistic Missile. Westholme Publishing. ISBN 1-59416-012-0.
- Hall, Charlie (2022). 'Flying Gas Mains': Rumour, Secrecy, and Morale during the V-2 Bombardment of Britain', Twentieth Century British History, 33:1, pp. 52–79.
- Huzel, Dieter K. (ca. 1965). Peenemünde to Canaveral. Prentice Hall Inc.
- Piszkiewicz, Dennis (1995). The Nazi Rocketeers: Dreams of Space and Crimes of War. Westport, Conn.: Praeger. ISBN 0-275-95217-7.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "The German A4 Rocket (Main Title)" Information Film of Operation Backfire from IWM
- '"Chute Saves Rockets Secrets", September 1947, Popular Science article on US use of V-2 for scientific research
- "Reconstruction, restoration & refurbishment of a V-2 rocket". NASA. สืบค้นเมื่อ February 14, 2023.[ลิงก์เสีย], spherical panoramas of the process and milestones.
- Hermann Ludewig Collection, The University of Alabama in Huntsville Archives and Special Collections Files of Hermann Ludewig, Deputy of Design Chief and later Chief of Acceptance and Inspection on the V-2 program