ข้ามไปเนื้อหา

เพลงชาติเลบานอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
النشيد الوطني اللبناني‎
คำแปล: เพลงชาติเลบานอน
ชื่ออื่นอาหรับ: كلنـا للوطـن للعـلى للعـلم,
Kulluna lil-watan lil 'ula lil-'alam
(วรรคแรกของเพลง ซึ่งมีที่มาจากคำขวัญประจำชาติ)
เนื้อร้องราชิค นาเกลอ
ทำนองวาดิฮ์ ซาบรา, พ.ศ. 2468
รับไปใช้พ.ศ. 2470
ตัวอย่างเสียง
เพลงชาติเลบานอน (บรรเลง)

เพลงชาติเลบานอน (อาหรับ: النشيد الوطني اللبناني‎) เป็นผลงานการประพันธ์เนื้อร้องของราชิค นาเกลอ (Rashid Nakhle) ส่วนทำนองประพันธ์โดย วาดิฮ์ ซาบรา (Wadih Sabra) เมื่อ พ.ศ. 2468[1] เพลงนี้เริ่มใช้เป็นเพลงชาติของรัฐเลบานอนอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2470 ขณะที่ดินแดนแห่งนี้ยังคงเป็นดินแดนในอาณัติของฝรั่งเศส

เนื้อร้อง

[แก้]
ถอดเป็นอักษรโรมัน
คำแปล

١
كُلُّنَا لِلْوَطَنْ لِلْعُلٰى لِلْعَلَمْ
مِلْءُ عَيْنِ الزَّمَنْ سَيْفُنَا وَالْقَلَمْ
سَهْلُنَا وَالْجَبَلْ مَنْبِتٌ لِلرِّجَال
قَوْلُنَا وَالْعَمَلْ فِيْ سَبِيْلِ الْكَمَال

كورال:
كُلُّنَا لِلْوَطَنْ لِلْعُلٰى لِلْعَلَمْ
كُلُّنَا لِلْوَطَنْ

٢
شَيْخُنَا وَالْفَتٰى عِنْدَ صَوْتِ الْوَطَنْ
أُسْدُ غَابٍ مَتٰى سَاوَرَتْنَا الْفِتَنْ
شَرْقُنَا قَلْبُهُ أَبَداً لُبْنَان
صَانَهُ رَبُّهُ لِمَدَى الْأَزْمَان

كورال

٣
بَحْرُهُ بَرُّهُ دُرَّةُ الشَّرْقَيْن
رِفْدُهُ بِرُّهُ مَالِئُ الْقُطْبَيْن
إِسْمُهُ عِزُّهُ مُنْذُ كَانَ الْجُدُوْد
مَجْدُهُ أَرْزُهُ رَمْزُهُ لِلْخُلُوْد

كورال

1
[kʊl.lʊ.næː lɪ‿l.wɑ.tˤɑn | lɪ‿l.ʕʊ.læː lɪ‿l.ʕɑ.læm]
[mɪl.ʔu ʕɑjn ɪz.zæ.mæn | sæj.fu.næː wæ‿l.qɑ.læm]
[sæh.lʊ.næː wæ‿l.ʒæ.bæl | mæn.bi.tʊn lɪ‿r.ri.ʒæːl]
[qɑw.lʊ.næː wæ‿l.ʕɑ.mæl fiː sæ.biː.lɪl kæ.mæːl]

[kuː.rɑːl]
[kʊl.lʊ.næː lɪ‿l.wɑ.tˤɑn | lɪ‿l.ʕʊ.læː lɪ‿l.ʕɑ.læm]
[kʊl.lʊ.næː lɪ‿l.wɑ.tˤɑn]

2
[ʃæj.xu.næː wæ‿l.fæ.tæː | ʕɪn.dæ sˤɑw.tɪ‿l.wɑ.tˤɑn]
[ʔʊs.dʊ ɣæː.bɪn mæ.tæː | sæː.wɑ.ræt.næː‿l.fi.tæn]
[ʃɑr.qʊ.næː qɑl.bʊ.hu | ʔæ.bæ.dæn lʊb.næːn]
[sˤɑː.næ.hu rɑb.bʊ.hu | li mæ.dæː‿l.ʔæz.mæːn]

[kuː.rɑːl]

3
[bɑħ.rʊ.hu bɑr.rʊ.hu | dʊr.rɑ.tʊ‿ʃ.ʃɑr.qɑjn]
[rɪf.dʊ.hu bɪr.rʊ.hu | mæː.li.ʔʊ‿l.qʊtˤ.bɑjn]
[ʔɪs.mʊ.hu ʕɪz.zʊ.hu | mun.zu kæː.næ‿l.ʒʊ.duːd]
[mæʒ.dʊ.hu ʔær.zʊ.hu | ræm.zʊ.hu lɪ‿l.xʊ.luːd]

[kuː.rɑːl]

I
Kullunā li-l-waṭan, li-l-ʿulā li-l-ʿalam
Milʾu ʿayn iz-zaman, sayfunā wa-l-qalam
Sahlunā wa-l-jabal, manbitun li-r-rijāl
Qawlunā wa-l-ʿamal fī sabīli l-kamāl

Kūrāl:
Kullunā li-l-waṭan, li-l-ʿulā li-l-ʿalam
Kullunā li-l-waṭan

II
Šayxunā wa-l-fatā, ʿinda ṣawti l-waṭan
ʾUsdu ġābin matā, sāwaratnā l-fitan
Šarqunā qalbuhu, ʾabadan Lubnān
Ṣānahu rabbuhu, li-madā l-ʾazmān

Kūrāl

III
Baḥruhu barruhu, durratu š-šarqayn
Rifduhu birruhu, māliʾu l-quṭbayn
ʾIsmuhu ʿizzuhu, munḏu kāna l-judūd
Majduhu ʾarzuhu, ramzuhu li-l-xulūd

Kūrāl

I Tous pour la patrie, pour la gloire et le drapeau. Par l'épée et la plume nous marquons les temps. Notre plaine et nos montagnes font des hommes vigoureux. À la perfection nous consacrons notre parole et notre travail.

Refrain: Tous pour la patrie, pour la gloire et le drapeau. Tous pour la patrie.

II Nos vieux et nos jeunes attendent l'appel de la patrie. Le jour de la crise, ils sont comme les lions de la jungle. Le cœur de notre Orient demeure à jamais le Liban. Que Dieu le préserve jusqu'à la fin des temps.

Refrain

III Sa terre et sa mer sont les joyaux des deux orients. Ses bonnes actions envahissent les pôles. Son nom est sa gloire depuis le début des temps. Son cèdre est sa fierté, son symbole éternel.

Refrain

บทที่ 1

เราทุกคน ! เพื่อชาติ เพื่อธง และเพื่อความรุ่งเรืองของเรา !
ความองอาจและงานเขียนของเราเป็นสิ่งที่น่าอิจฉาแห่งยุคสมัย
ขุนเขาและหุบผาของเรา นำมาซึ่งผู้คนที่มุ่งไปข้างหน้าอย่างซื่อตรง
เรายอมอุทิศวาจาและแรงกายเพื่อความเป็นเลิศของชาติเรา

ประสานเสียง:

เราทุกคน ! เพื่อชาติ เพื่อธง และเพื่อความรุ่งเรืองของเรา !
เราทุกคน ! เพื่อชาติของเรา !

บทที่ 2:

เหล่าผู้ใหญ่และเยาวชนของเรา พวกเขารอคอยเสียงเพรียกของชาติ
ในวันแห่งยามวิกฤต พวกเขาเป็นดั่งราชสีห์ในพงไพร
ดวงใจแห่งแดนบูรพาของเราคือแผ่นดินเลบานอนเสมอ
ขององค์อัลลอห์จงพิทักษ์ไว้จนชั่วกัลปาวสานต์

ประสานเสียง:

บทที่ 3:

อัญมณีแห่งบูรพาอยู่ในแผ่นดินและท้องทะเลของท่าน
ความดีงามของท่านแพร่สะพัดไปทั่วทั้งโลกา
และนามท่านคือความรุ่งโรจน์ของท่านนับตั้งแต่ปฐมกาล
ต้นซีดาร์คือความภาคภูมิของท่าน คือสัญลักษณ์ของท่านอันเป็นนิรันดร์
ประสานเสียง:
[2][3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Zuhur, Sherifa (2001). Colors of enchantment: theater, dance, music, and the visual arts of the Middle East (illustrated ed.). Cairo: American university in Cairo press. p. 456. ISBN 9774246071, 9789774246074. สืบค้นเมื่อ 2009-10-08. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)
  2. Farshad, Mohammad-Avvali (2007). The Role of Art in the Struggle for National Identity in Lebanon. Akademische Schriftenreihe. GRIN Verlag. p. 36. ISBN 3638778606, 9783638778602. สืบค้นเมื่อ 2009-10-08. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)
  3. Goldstein, Margaret J. (2004). Lebanon in Pictures. Visual geography series (illustrated, revised ed.). Twenty-First Century Books. p. 80. ISBN 0822511711, 9780822511717. สืบค้นเมื่อ 2009-10-08. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: ตัวอักษรไม่ถูกต้อง (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]