ข้ามไปเนื้อหา

เพอร์เพิลฮาร์ต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เพอร์เพิลฮาร์ต
ด้านหน้า
รูปแบบเหรียญทหาร (เหรียญอิสริยาภรณ์)
รางวัลสำหรับ"เป็นผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตในการกระทำใด ๆ ต่อศัตรูแห่งสหรัฐหรือเป็นผลจากการกระทำของกองทัพศัตรูหรือฝ่ายต่อต้าน"
คำอธิบายด้านหน้าเป็นภาพของจอร์จ วอชิงตัน
จัดโดยทบวงทหารบกสหรัฐ[1]
ทบวงทหารเรือสหรัฐ[2]
ทบวงทหารอากาศสหรัฐ[3]
กระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ[4]
คุณสมบัติบุคลากรฝ่ายทหาร
สถานะยังคงให้รางวัล
รางวัลแรก22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1932
ทั้งหมดประมาณ 1,910,162 คน (ณ วันที่ 5 มิถุนายน ค.ศ. 2010)[5]
รางวัลทั้งหมดที่ได้รับหลังการเสียชีวิตประมาณ 430,000 คน
ผู้รับทั้งหมดมากกว่า 2,000,000 คน (รวมผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่มีสิทธิ์ ซึ่งอาจได้หรือไม่ได้รับรางวัลเพอร์เพิลฮาร์ต)
เว็บไซต์media.defense.gov
แพรแถบย่อ
ลำดับความสำคัญ
ถัดไป (สูงกว่า)Bronze Star Medal[6]
ถัดไป (ต่ำกว่า)กระทรวงกลาโหมสหรัฐ: Defense Meritorious Service Medal[6]

เพอร์เพิลฮาร์ต (อังกฤษ: Purple Heart, PH) เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทางทหารของสหรัฐที่ปูนบำเหน็จในนามของประธานาธิบดีให้แก่ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตในขณะปฏิบัติหน้าที่ทั้งในและภายหลังจากวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1917 กับกองทัพสหรัฐ เมื่อนับรวมกับแบดจ์ออฟมิลิเทรีเมริต (ซึ่งมีรูปหัวใจที่ทำด้วยผ้าสีม่วง) ที่มีมาก่อน เพอร์เพิลฮาร์ตเป็นรางวัลปูนบำเหน็จแก่ทหารที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงมอบให้แก่สมาชิกกองทัพสหรัฐ รางวัลปูนบำเหน็จเพียงรางวัลเดียวก่อนหน้านี้คือฟิเดลิตีมิแดเลียนซึ่งปัจจุบันไม่มีแล้ว หอเกียรติยศเพอร์เพิลฮาร์ตแห่งชาติตั้งอยู่ที่นิววินด์เซอร์ รัฐนิวยอร์ก

ประวัติ

[แก้]

เพอร์เพิลฮาร์ตแบบเดิม ซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องอิสริยาภรณ์ทหาร ได้รับการจัดตั้งโดยจอร์จ วอชิงตัน (ณ เวลานั้นดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารในกองทัพภาคพื้นทวีป) ตามคำสั่งที่นิวเบิร์ก ศูนย์บัญชาการนิวยอร์กเมื่อวันที่ 7 สิงหาคม ค.ศ. 1782 วอชิงตันให้เครื่องอิสริยาภรณ์ทหารเฉพาะทหารในสงครามปฏิวัติเพียงสามคน เขาอนุญาตให้เจ้าหน้าที่ผู้ใต้บังคับบัญชาออกเครื่องอิสริยาภรณ์ตามความเหมาะสม ถึงแม้ว่าจะไม่ยุบเลิกรางวัลนี้ แต่ไม่มีการเสนอรางวัลนี้อย่างเป็นทางการอีกเลยจนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง[7][8]

ณ ค.ศ. 2009 เนชั่นแนล จีโอกราฟิก ประมาณการจำนวนเพอร์เพิลฮาร์ตไว้ดังนี้:[5]

ทุก ๆ วันที่ 7 สิงหาคมของทุกปี เป็น "วันเพอร์เพิลฮาร์ตแห่งชาติ"[13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 January 2018. สืบค้นเมื่อ 10 January 2018.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  2. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 16 February 2012. สืบค้นเมื่อ 16 February 2012.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  3. "Info" (PDF). static.e-publishing.af.mil. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 October 2018. สืบค้นเมื่อ 10 January 2018.
  4. "Data" (PDF). media.defense.gov. 2017.
  5. 5.0 5.1 "History: Purple Hearts". National Geographic (November 2008): 33.
  6. 6.0 6.1 "Manual of Military Decorations and Awards: DoD-Wide Performance and Valor Awards; Foreign Awards; Military Awards to Foreign Personnel and U.S. Public Health Service Officers; and Miscellaneous Information" (PDF). DoD Manual 1348.33, Vol. 3. Department of Defense. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 26 February 2013. สืบค้นเมื่อ 31 July 2012.
  7. "Purple Heart". The Institute of Heraldry. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ ธันวาคม 3, 2013. สืบค้นเมื่อ มิถุนายน 6, 2011.
  8. "Purple Heart History". PurpleHearts.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-07. สืบค้นเมื่อ 22 June 2013.
  9. 9.0 9.1 "A Guide to the Most Purple Hearts Awarded in Each Conflict". สืบค้นเมื่อ 18 November 2018.
  10. "29 Purple Hearts Approved for Soldiers Injured in Al Asad Missile Attack". สืบค้นเมื่อ 4 May 2020..
  11. "47 Purple Hearts for Marine forces in Iraq and Syria since 2016 give glimpse into ongoing operations". 12 December 2018. สืบค้นเมื่อ 12 December 2018.
  12. Rempfer, Kyle (2020-08-19). "How US troops survived a little-known al-Qaeda raid in Mali two years ago". Military Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-08-28.
  13. "National Purple Heart Day | Department of Military & Veterans Affairs". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 August 2019. สืบค้นเมื่อ 6 August 2019.

บรรณานุกรม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]