ข้ามไปเนื้อหา

โบทูลิซึม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Botulism
เด็กอายุ 14 ปีที่เป็นโรคโบทูลิซึม สังเกตความอ่อนแอของกล้ามเนื้อตาและ เปลือกตาหลบตา ในภาพที่อยู่ติดกัน และรูม่านตาขนาดใหญ่และไม่เคลื่อนไหวในภาพขวา เด็กคนนี้มีสติสัมปชัญญะเต็มที่
การออกเสียง
สาขาวิชาInfectious disease, gastroenterology
อาการอ่อนแรง การมองเห็นผิดปกติ รู้สึกอ่อนล้า และพูดลำบาก[1]
สาเหตุClostridium botulinum[1]
วิธีวินิจฉัยค้นหาแบคทีเรียหรือพิษ[1]
โรคอื่นที่คล้ายกันMyasthenia gravis, Guillain–Barré syndrome, Amyotrophic lateral sclerosis, Lambert Eaton syndrome[2]
การป้องกันการเตรียมอาหารที่เหมาะสม ไม่ให้น้ำผึ้ง สำหรับเด็กที่อายุต่ำกว่า 1 ขวบ[1]
การรักษายาต้านพิษ, ยาปฏิชีวนะ, เครื่องช่วยหายใจ[1]
พยากรณ์โรคโอกาสการเสียชีวิตประมาน 7.5%[1]

โบทูลิซึม (อังกฤษ: botulism) เป็นโรคที่เกิดจากพิษของแบคทีเรียสายพันธุ์ Clostridium botulinum ซึ่งอาจมีอันตรายรุนแรงถึงเสียชีวิตได้ อาการแรกเริ่มคืออ่อนแรง การมองเห็นผิดปกติ รู้สึกอ่อนล้า และพูดลำบาก จากนั้นอาจตามมาด้วยอาการอ่อนแรงของแขน กล้ามเนื้อหน้าอก และขา ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะมีการรู้สึกตัวดี และไม่มีไข้

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ WHO2013
  2. Caterino, Jeffrey M.; Kahan, Scott (2003). In a Page: Emergency medicine (ภาษาอังกฤษ). Lippincott Williams & Wilkins. p. 122. ISBN 9781405103572. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค
ทรัพยากรภายนอก
The offline app allows you to download all of Wikipedia's medical articles in an app to access them when you have no Internet.
บทความวิกิพีเดียด้านการดูแลสุขภาพสามารถอ่านออฟไลน์ได้ทาง Medical Wikipedia app.