ไอออนฮีเลียมไฮไดรด์
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
Systematic IUPAC name
Hydridohelium(1+)[1] | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI |
|
เคมสไปเดอร์ | |
2 | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
HeH+ | |
มวลโมเลกุล | 5.01054 g·mol−1 |
เบส | Helium |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
แคตไอออนไฮโดรฮีเลียม(1+) (สัญลักษณ์ HeH+) หรือเรียก ไอออนฮีเลียมไฮไดรด์หรือไอออนโมเลกุลฮีเลียม-ไฮไดรด์ เป็นไอออนประจุบวกที่ก่อกำเนิดจากปฏิกิริยาของโปรตอนกับอะตอมฮีเลียมในเฟสแก๊ส มีการผลิตขึ้นครั้งแรกในห้องปฏิบัติการในปี 1925 มีคุณสมบัติประจุไฟฟ้าเท่ากับโมเลกุลไฮโดรเจน[2] และเป็นกรดที่เข้มที่สุดเท่าที่ทราบ โดยมีสัมพรรคภาพโปรตอน 177.8 kJ/mol[3] มีการเสนอตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1970 ว่า HeH+ ควรเกิดในธรรมชาติในสารระหว่างดาวฤกษ์ จนมีรายงานการค้นพบทางฟิสิกส์ดาราศาสตร์อย่างชัดเจนในปี 2019[4][5] มันเป็นไอออนเฮเทอโรนิวเคลียร์ที่เรียบง่ายที่สุดและเทียบได้กับไออนโมเลกุลไฮโดรเจน H+
2 แต่มีโมเมนต์สองขั้วถาวร ทำให้การอธิบายลักษณะสเปกโตรสโคปง่ายขึ้น[6] โมเมนต์สองขั้วที่คำนวณได้ของ HeH+ เท่ากับ 2.26 หรือ 2.84[7]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "hydridohelium(1+) (CHEBI:33688)". Chemical Entities of Biological Interest (ChEBI). UK: European Bioinformatics Institute.
- ↑ T. R. Hogness; E. G. Lunn (1925). "The Ionization of Hydrogen by Electron Impact as Interpreted by Positive Ray Analysis". Physical Review. 26 (1): 44–55. Bibcode:1925PhRv...26...44H. doi:10.1103/PhysRev.26.44.
- ↑ Lias, S. G.; Liebman, J. F.; Levin, R. D.; Liebman; Levin (1984). "Evaluated Gas Phase Basicities and Proton Affinities of Molecules; Heats of Formation of Protonated Molecules". Journal of Physical and Chemical Reference Data. 13 (3): 695. Bibcode:1984JPCRD..13..695L. doi:10.1063/1.555719.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ J. Fernandez; F. Martin; Martín (2007). "Photoionization of the HeH+ molecular ion". J. Phys. B: At. Mol. Opt. Phys. 40 (12): 2471–2480. Bibcode:2007JPhB...40.2471F. doi:10.1088/0953-4075/40/12/020.
{{cite journal}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - ↑ Stutzki, Jürgen; Risacher, Christophe; Ricken, Oliver; Klein, Bernd; Karl Jacobs; Graf, Urs U.; Menten, Karl M.; Neufeld, David; Wiesemeyer, Helmut (April 2019). "Astrophysical detection of the helium hydride ion HeH+". Nature (ภาษาอังกฤษ). 568 (7752): 357. doi:10.1038/s41586-019-1090-x. ISSN 1476-4687.
- ↑ Coxon, J; Hajigeorgiou, PG (1999). "Experimental Born–Oppenheimer Potential for the X1Σ+ Ground State of HeH+: Comparison with the Ab Initio Potential". Journal of Molecular Spectroscopy. 193 (2): 306–318. Bibcode:1999JMoSp.193..306C. doi:10.1006/jmsp.1998.7740. PMID 9920707.
- ↑ "Dipole Moment Calculation to Small Diatomic Molecules: Implementation on a Two-Electron Self-Consistent-Field ab initio Program" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-19.