50000 ควาอัวร์
หน้าตา
การค้นพบ[1] | |
---|---|
ค้นพบโดย: | Chad Trujillo, Michael Brown |
ค้นพบเมื่อ: | 2002 Jun 05 10:48:08 PDT on an image taken 2002 June 04 05:41:40 UT |
ชื่ออื่น ๆ: | 2002 LM60 |
ชนิดของดาวเคราะห์น้อย: | Cubewano[2][3] |
ลักษณะของวงโคจร[4] | |
ต้นยุคอ้างอิง May 18, 2008 (JD 2 454 600.5) | |
ระยะจุดไกล ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 6.716 275 Tm (45.286 AU) |
ระยะจุดใกล้ ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 6.270 316 Tm (41.928 AU) |
กึ่งแกนเอก: | 6.493 296 Tm (43.607 AU) |
ความเยื้องศูนย์กลาง: | 0.038 4 |
คาบการโคจร: | 105 181.6 d (287.97 a) |
อัตราเร็วเฉลี่ย ในวงโคจร: | 4.52 km/s |
มุมกวาดเฉลี่ย: | 284.861° |
ความเอียง: | 7.988° |
ลองจิจูด ของจุดโหนดขึ้น: | 188.893° |
มุมของจุด ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด: | 148.508° |
ลักษณะทางกายภาพ | |
มิติ: | 1260 ± 190 km (direct) [5]
844+207 −190 km (thermal) [6] |
มวล: | (1.0–2.6) ×1021 kg |
ความหนาแน่นเฉลี่ย: | 2.0? g/cm³ |
ความโน้มถ่วง ที่ศูนย์สูตร: | 0.276–0.376 m/s² |
ความเร็วหลุดพ้น: | 0.523–0.712 km/s |
อุณหภูมิ: | ~43 K |
ชนิดสเปกตรัม: | (moderately red) B-V=0.94, V-R=0.65 |
ขนาดเชิงมุม: | 0.088 +0.021 −0.012 [5] 0.198 6 +0.13 −0.07 [6] |
ควาอัวร์ (การตั้งชื่อดาวเคราะห์น้อย: 50000 ควาอัวร์, การตั้งชื่อชั่วคราว: 2002 LM60; อังกฤษ: Quaoar) เป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูนดวงหนึ่ง และมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นดาวเคราะห์แคระ โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในบริเวณแถบไคเปอร์ ค้นพบเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ. 2002 โดยกลุ่มนักดาราศาสตร์ คาด ทรูจิลโล และ ไมเคิล อี. บราวน์ แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย โดยสังเกตพบจากภาพถ่ายจากกล้องโทรทรรศน์ Samuel Oschin ที่หอดูดาวพาโลมาร์
ดาวบริวาร
[แก้]ควาอัวร์ มีดาวบริวารชื่อ เวย์ว็อท (ภาษาอังกฤษ: Weywot) มันเป็นดาวบริวารที่ไม่เป็นทรงกลม เพราะมันเล็กเกินไปที่จะเป็นรูปทรงกลมได้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Frequently Asked Questions About Quaoar". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-01-17. สืบค้นเมื่อ 2009-02-18.
- ↑ Buie, Marc W. (2006-05-17). "Orbit Fit and Astrometric record for 50000". SwRI (Space Science Department). สืบค้นเมื่อ 2008-09-19.
- ↑ Marsden, Brian G. (2008-07-17). "MPEC 2008-O05 : Distant Minor Planets (2008 Aug. 2.0 TT)". IAU Minor Planet Center. Harvard-Smithsonian Center for Astrophysics. สืบค้นเมื่อ 2008-10-01.
- ↑ Asteroid Data Services by Lowell Observatory
- ↑ 5.0 5.1 Brown, Michael E. and Chadwick A. Trujillo (2004). "Direct Measurement of the Size of the Large Kuiper Belt Object (50000) Quaoar". The Astronomical Journal. 127 (7018): 2413–2417. doi:10.1086/382513. Reprint on Brown's site (pdf)
- ↑ 6.0 6.1 Stansberry J., Grundy W., Brown M, Cruikshank D., Spencer J., Trilling D., Margot J-L Physical Properties of Kuiper Belt and Centaur Objects: Constraints from Spitzer Space Telescope To Appear in: Kuiper Belt (M.A. Barucci et al., Eds.) U. Arizona Press, 2007 Preprint