ข้ามไปเนื้อหา

Burkholderia pseudomallei

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Burkholderia pseudomallei
โคโลนีของ B. pseudomallei บนวุ้นแอชดาวน์ แสดงลักษณะทรวดทรงวิทยาทรงหัวดอกข้าวโพด (cornflower head) อันเป็นเอกลักษณะ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: แบคทีเรีย
Bacteria
ไฟลัม: Proteobacteria
Proteobacteria
ชั้น: Betaproteobacteria
Betaproteobacteria
อันดับ: Burkholderiales
Burkholderiales
วงศ์: Burkholderiaceae
Burkholderiaceae
สกุล: Burkholderia
Burkholderia
(Whitmore 1913)
Yabuuchi et al. 1993[1]
สปีชีส์: Burkholderia pseudomallei
ชื่อทวินาม
Burkholderia pseudomallei
(Whitmore 1913)
Yabuuchi et al. 1993[1]
ชื่อพ้อง

Bacillus pseudomallei Whitmore 1913
Bacterium whitmori Stanton and Fletcher 1921
Malleomyces pseudomallei Breed 1939
Loefflerella pseudomallei Brindle and Cowan 1951
Pfeiferella pseudomallei
Pseudomonas pseudomallei (Whitmore 1913) Haynes 1957

Burkholderia pseudomallei (หรือ Pseudomonas pseudomallei) เป็นแบคทีเรียมแกรมลบ สองขั้ว (bipolar), แอรอบิก, เคลื่อนที่ได้ และเป็นทรงแท่ง (rod-shaped)[2] อาศัยอยู่ในพื้นดิน และระบาดในระดับท้องถิ่นในภูมิภาคเขตร้อน และกึ่งเขตร้อนทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทย และออสเตรเลียเหนือ[3] เชื้อนี้ติดต่อในมนุษย์และสัตว์ นำไปสู่โรคเมลิโออิโดซิส นอกจากนี้ยังมีการค้นพบว่าสามารถติดเชื้อในพืชได้เช่นกัน[4]

B. pseudomallei มีความยาวประมาณ 2–5 μm และมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.4–0.8 และสามารถเคลื่อนที่โดยการดันตัวเองได้โดยใช้แฟลกเจลลา แบคทีเรียนี้สามารถโตได้ในสิ่งแวดล้อมอาหารสังเคระห์รวมถึงกลุ่มที่ประกอบด้วยเบเทน กับ อาร์จีนีน

ในร่างกายมนุษย์ การเติบโตสูงสุดอยู่ที่อุณหภูมิประมาณ 40 °C ในสภาวะเป็นกรดเล็กน้อยถึงกลาง (pH 6.8–7.0) สายพันธุ์ส่วนใหญ่ของแบคทีเรียนี้สามารถเกิดการออกซิไดส์น้ำตาล ไม่ใช่การหมัก โดยไม่มีการผลิตก๊าส (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลูโคส กะบ กาแลกโทส; การเพาะเชื้ออื่น ๆ มีรายงานว่าสามารถเมทาบอไลส์มอลโทส กับ แป้ง ได้เช่นกัน) แบคทีเรียนี้สามารถผลิตได้ทั้งสารพิษแบบเอ็กโซ- และ เอ็นโดท็อกซิน หน้าที่ของการเกิดโรคจากสารพิษเหล่านี้ยังไม่เป็นที่เข้าใจประจักษ์ในทางวิชาการ[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Yabuuchi, E; Kosako, Y; Oyaizu, H; Yano, I; Hotta, H; Hashimoto, Y; Ezaki, T; Arakawa, M (1992). "Proposal of Burkholderia gen. nov. and transfer of seven species of the genus Pseudomonas homology group II to the new genus, with the type species Burkholderia cepacia (Palleroni and Holmes 1981) comb. nov". Microbiol Immunol. 36 (12): 1251–75. doi:10.1111/j.1348-0421.1992.tb02129.x. PMID 1283774.
  2. "Burkholderia pseudomallei". VirginiaTech Pathogen Database. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-09-01. สืบค้นเมื่อ 2006-03-26.
  3. Limmathurotsakul, Direk; Golding, Nick; Dance, David A. B.; Messina, Jane P.; Pigott, David M.; Moyes, Catherine L.; Rolim, Dionne B.; Bertherat, Eric; Day, Nicholas P. J. (2016-01-11). "Predicted global distribution of Burkholderia pseudomallei and burden of melioidosis". Nature Microbiology (ภาษาอังกฤษ). 1 (1): 15008. doi:10.1038/nmicrobiol.2015.8. ISSN 2058-5276. PMC 4746747. PMID 26877885.
  4. Lee YH, Chen Y, Ouyang X, Gan YH (2010). "Identification of tomato plant as a novel host model for Burkholderia pseudomallei". BMC Microbiol. 10: 28. doi:10.1186/1471-2180-10-28. PMC 2823722. PMID 20109238.
  5. Haase A, Janzen J, Barrett S, Currie B (July 1997). "Toxin production by Burkholderia pseudomallei strains and correlation with severity of melioidosis". Journal of Medical Microbiology. 46 (7): 557–63. doi:10.1099/00222615-46-7-557. PMID 9236739.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]