คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 54

อดีตคณะรัฐมนตรีไทย

คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 (17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 – 11 มีนาคม พ.ศ. 2548) หรือที่รู้จักกันในชื่อ คณะรัฐมนตรีทักษิณ ชุดที่ 1 (ครม.ทักษิณ 1)

คณะรัฐมนตรีทักษิณ 1
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 54 แห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. 2544 - 2548
วันแต่งตั้ง17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
วันสิ้นสุด11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(4 ปี 23 วัน)
บุคคลและองค์กร
พระมหากษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
นายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร
จำนวนรัฐมนตรีทั้งหมด35
พรรคร่วมรัฐบาลพรรคไทยรักไทย (326)
พรรคชาติไทย (39)
พรรคความหวังใหม่[a] (1)
พรรคเสรีธรรม[a]
พรรคชาติพัฒนา (2545-2547)[a]
สถานะในสภานิติบัญญัติรัฐบาลผสม
366 / 500 (73%)
พรรคฝ่ายค้านพรรคประชาธิปัตย์ (130)
พรรคราษฎร (2)
พรรคกิจสังคม (1)
พรรคมวลชน[b]
พรรคถิ่นไทย[c]
พรรคชาติพัฒนา (2544-2545)
ผู้นำฝ่ายค้าน
ประวัติ
การเลือกตั้งเลือกตั้งทั่วไป 2544
การลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
สิ้นสุดจากการเลือกตั้งเลือกตั้งทั่วไป 2548
สภานิติบัญญัติสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21
วาระสภานิติบัญญัติ3 ปี
งบประมาณ
ก่อนหน้าคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 53
ถัดไปคณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 55

โดยได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง พันตํารวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ตามความในประกาศราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 แล้วนั้น[1] ต่อมาจึงได้มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี คณะที่ 54

พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยในประกาศพระบรมราชโองการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544[2] โดย พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และประกาศลงราชกิจจานุเบกษา ในวันเดียวกัน

ประวัติ

หลังจาก การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 สิ้นสุดลง และได้มีการประกาศผลการเลือกตั้ง โดยปรากฏว่า พรรคไทยรักไทย ได้รับเสียงข้างมาก เป็นอันดับหนึ่งในการเลือกตั้ง (248 ที่นั่ง ใน สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 21) ต่อมาได้มีการรวบรวมเสียงจากพรรคการเมืองต่างๆ เช่น พรรคเสรีธรรม, พรรคชาติพัฒนา, พรรคความหวังใหม่ และ พรรคชาติไทย ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล โดยมีพรรคไทยรักไทยเป็นพรรคหลัก ต่อมาได้มีการยุบรวมพรรคร่วมรัฐบาล โดย รวมพรรคความหวังใหม่[3] และ พรรคเสรีธรรม[4] ในปี 2544 และ รวมพรรคชาติพัฒนา[5] ในปี 2545 โดยให้เป็นส่วนหนึ่งของพรรคไทยรักไทย ทำให้ เมื่อรวมที่นั่งในสภาฯ ทำให้มีเสียงเกินกึ่งหนึ่งของสภาผู้แทนราษฎร (356 ที่นั่ง จาก 500 ที่นั่งในสภาฯ)

รายชื่อคณะรัฐมนตรี

รายชื่อคณะรัฐมนตรี มีดังต่อไปนี้[2][6][7]

  รัฐมนตรีว่าการกระทรวง   ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี   ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี
  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง   แต่งตั้งเพิ่ม   เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น
  รัฐมนตรีลอย   ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น   ออกจากตำแหน่ง
ตำแหน่ง ลำดับ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ หมายเหตุ พรรคการเมือง
นายกรัฐมนตรี * พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร   9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ดำรงตำแหน่งครบวาระรัฐบาล ไทยรักไทย
รองนายกรัฐมนตรี 1 พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
สุวิทย์ คุณกิตติ   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 9 ตุลาคม พ.ศ. 2544   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไทยรักไทย
  8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2 เดช บุญ-หลง   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ชาติไทย
ปองพล อดิเรกสาร   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไทยรักไทย
3 พิทักษ์ อินทรวิทยนันท์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์   9 ตุลาคม พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ไทยรักไทย
  8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 9 มีนาคม พ.ศ. 2547
กร ทัพพะรังสี   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
4 จาตุรนต์ ฉายแสง   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ไทยรักไทย
5 วิษณุ เครืองาม   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   อิสระ
6 ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์   8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
โภคิน พลกุล   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ไทยรักไทย
ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
วันมูหะมัดนอร์ มะทา   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
7 สุวัจน์ ลิปตพัลลภ   30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
8 พินิจ จารุสมบัติ   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   เสรีธรรม
ไทยรักไทย
9 สมศักดิ์ เทพสุทิน   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
สำนักนายกรัฐมนตรี   จาตุรนต์ ฉายแสง   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ไทยรักไทย
  สมศักดิ์ เทพสุทิน   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ไทยรักไทย
  10 กระแส ชนะวงศ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา   9 กรกฎาคม พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ไทยรักไทย
  พงศ์เทพ เทพกาญจนา   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน ไทยรักไทย
  สุวัจน์ ลิปตพัลลภ   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
กลาโหม   * พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   คงเหลือเฉพาะรองนายกรัฐมนตรี ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 9 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 5 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  11 พลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   อิสระ
  พลเอก ยุทธศักดิ์ ศศิประภา   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
การคลัง   12 สมคิด จาตุศรีพิทักษ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  10 มีนาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548  
  ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ   8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
    17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
  13 วราเทพ รัตนากร   8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
การต่างประเทศ   14 สุรเกียรติ์ เสถียรไทย   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
การท่องเที่ยวและกีฬา   15 สนธยา คุณปลื้ม   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ลาออกจากตำแหน่ง ชาติไทย
ไทยรักไทย
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์   อนุรักษ์ จุรีมาศ   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม ชาติไทย
  16 สรอรรถ กลิ่นประทุม   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
เกษตรและสหกรณ์   ชูชีพ หาญสวัสดิ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ลาออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  สรอรรถ กลิ่นประทุม   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ไทยรักไทย
  สมศักดิ์ เทพสุทิน   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  17 วันมูหะมัดนอร์ มะทา   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไทยรักไทย
  นที ขลิบทอง   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 4 มีนาคม พ.ศ. 2545   ลาออกจากตำแหน่ง ชาติไทย
  18 เนวิน ชิดชอบ   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ชาติไทย
ไทยรักไทย
คมนาคม   วันมูหะมัดนอร์ มะทา   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  19 สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  ประชา มาลีนนท์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ไทยรักไทย
  พงศกร เลาหวิเชียร   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 4 มีนาคม พ.ศ. 2545   ลาออกจากตำแหน่ง ชาติไทย
  20 นิกร จำนง   22 สิงหาคม พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ชาติไทย
  พิเชษฐ สถิรชวาล   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 5 สิงหาคม พ.ศ. 2546   พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีเนื่องจากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ[8] ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  21 วิเชษฐ์ เกษมทองศรี   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม   ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ลาออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  22 สุวิทย์ คุณกิตติ   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร   23 นายแพทย์ สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 6 มกราคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
พลังงาน   พงศ์เทพ เทพกาญจนา   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546   กลับไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ไทยรักไทย
  24 นายแพทย์ พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช   8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 6 มกราคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
พาณิชย์   อดิศัย โพธารามิก   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไทยรักไทย
  25 วัฒนา เมืองสุข   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
    8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
  สุวรรณ วลัยเสถียร   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 5 มีนาคม พ.ศ. 2545   ลาออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  เนวิน ชิดชอบ   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ชาติไทย
ไทยรักไทย
  พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ไทยรักไทย
  26 อนุทิน ชาญวีรกูล   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
มหาดไทย   ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ไทยรักไทย
  วันมูหะมัดนอร์ มะทา   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
  27 โภคิน พลกุล   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  สรอรรถ กลิ่นประทุม   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไทยรักไทย
  สมบัติ อุทัยสาง   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง เสรีธรรม
ไทยรักไทย
  28 ประชา มาลีนนท์   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  ประมวล รุจนเสรี   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  29 สุธรรม แสงประทุม   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
ยุติธรรม   30 พงศ์เทพ เทพกาญจนา   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 5 มีนาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548  
  จาตุรนต์ ฉายแสง   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
แรงงาน   * เดช บุญ-หลง   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ลาออกจากตำแหน่ง ชาติไทย
  สุวัจน์ ลิปตพัลลภ   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
  31 อุไรวรรณ เทียนทอง   2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  ลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
วัฒนธรรม   อุไรวรรณ เทียนทอง   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ไทยรักไทย
  32 อนุรักษ์ จุรีมาศ   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 6 มกราคม พ.ศ. 2548   ชาติไทย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   สนธยา คุณปลื้ม   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ชาติไทย
ไทยรักไทย
  พินิจ จารุสมบัติ   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี เสรีธรรม
ไทยรักไทย
  พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 9 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ไทยรักไทย
  33 กร ทัพพะรังสี   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
ศึกษาธิการ   นายแพทย์ เกษม วัฒนชัย   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 8 มิถุนายน พ.ศ. 2544   ลาออกจากตำแหน่ง อิสระ
  * พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร   14 มิถุนายน พ.ศ. 2544 9 ตุลาคม พ.ศ. 2544   ลาออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  * สุวิทย์ คุณกิตติ   9 ตุลาคม พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี ไทยรักไทย
  * ปองพล อดิเรกสาร   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  34 อดิศัย โพธารามิก   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  จำลอง ครุฑขุนทด   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 5 มีนาคม พ.ศ. 2545   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  สิริกร มณีรินทร์   14 มิถุนายน พ.ศ. 2544 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ไทยรักไทย
  สุธรรม แสงประทุม   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย ไทยรักไทย
  35 อารีย์ วงศ์อารยะ   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
สาธารณสุข   36 สุดารัตน์ เกยุราพันธุ์   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  นายแพทย์ สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ไทยรักไทย
  พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย
  พลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 10 มีนาคม พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  สิริกร มณีรินทร์   10 มีนาคม พ.ศ. 2547 30 มิถุนายน พ.ศ. 2547   ถูกปรับออกจากตำแหน่ง ไทยรักไทย
  อนุทิน ชาญวีรกูล   30 มิถุนายน พ.ศ. 2547 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ไทยรักไทย
  37 นายแพทย์ สุชัย เจริญรัตนกุล   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
อุตสาหกรรม   สุริยะ จึงรุ่งเรืองกิจ   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ไทยรักไทย
  สมศักดิ์ เทพสุทิน   3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไทยรักไทย
  พินิจ จารุสมบัติ   8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 6 ตุลาคม พ.ศ. 2547   ไปเป็นรองนายกรัฐมนตรี เสรีธรรม
ไทยรักไทย
  38 พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล   6 ตุลาคม พ.ศ. 2547 11 มีนาคม พ.ศ. 2548   ไทยรักไทย
  พิเชษฐ สถิรชวาล   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ความหวังใหม่
ไทยรักไทย
ทบวงมหาวิทยาลัย   สุธรรม แสงประทุม   17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 5 มีนาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ไทยรักไทย
  สุวัจน์ ลิปตพัลลภ   5 มีนาคม พ.ศ. 2545 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545   ไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
(ทบวงถูกเปลี่ยนไปสังกัดกระทรวงศึกษาธิการแทน)
ชาติพัฒนา
ไทยรักไทย

การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี

  • เกษม วัฒนชัย ขอลาออกจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2544[9] ต่อมาได้มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้ พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการอีกตำแหน่งหนึ่ง และ แต่งตั้ง สิริกร มณีรินทร์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในอีกหกวันถัดมา[10]
  • พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร ลาออกจากตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และในวันเดียวกัน มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2544 ดังนี้[11]:
  • นที ขลิบทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ พงศกร เลาหวิเชียร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม ขอลาออกจำตำแหน่ง เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2545
  • มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 6 มีนาคม 2545 ดังนี้[12]:
  • มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2546 ดังนี้[13]:
    • พรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน
    • สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    • พงศ์เทพ เทพกาญจนา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
    • ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
  • มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2546[14] ดังนี้:
    • อนุรักษ์ จุรีมาศ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม
    • สรอรรถ กลิ่นประทุม พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
    • อดิศัย โพธารามิก พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    • วัฒนา เมืองสุข พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
    • อุไรวรรณ เทียนทอง พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
    • พินิจ จารุสมบัติ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
    • สมศักดิ์ เทพสุทิน พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    • โภคิน พลกุล เป็นรองนายกรัฐมนตรี
    • วิเชษฐ์ เกษมทองศรี เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
    • พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
    • พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • พลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
    • กร ทัพพะรังสี พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • สุวัจน์ ลิปตพัลลภ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
    • ปองพล อดิเรกสาร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    • พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข


  • มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 10 มีนาคม 2547 ดังนี้[7]:
    • สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
    • สุวิทย์ คุณกิตติ พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    • โภคิน พลกุล พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
    • พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • วันมูหะมัดนอร์ มะทา พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
    • สิริกร มณีรินทร์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
    • กร ทัพพะรังสี เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    • สุธรรม แสงประทุม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    • ประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
    • พลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
  • มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 1 กรกฎาคม 2547 ดังนี้[15]:
  • พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ์ ลาออกจากตำแหน่ง รองนายกรัฐมนตรี และ พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร ลาออกจากตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และในวันเดียวกัน มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี ตามความประกาศในราชกิจจานุเบกษา ลงวันที่ 6 ตุลาคม 2547 ดังนี้[16]:
    • วันมูหะมัดนอร์ มะทา พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
    • สมศักดิ์ เทพสุทิน พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • พงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
    • อนุทิน ชาญวีรกูล พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
    • พินิจ จารุสมบัติ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม แต่ไปดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี
    • สุธรรม แสงประทุม พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แต่ไปดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
    • พลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
    • อารีย์ วงศ์อารยะ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
    • สุชัย เจริญรัตนกุล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข

ผลงานของรัฐบาล

เศรษฐกิจ

สาธารณสุข

การเกษตร

การจัดงานและการท่องเที่ยว

อื่นๆ

ฉายา

พ.ศ. 2544

  • ฉายารัฐบาล : บริษัท จำกัด (ไม่มหาชน)
  • วาทะแห่งปี : บกพร่องโดยสุจริต

พ.ศ. 2545

  • ฉายารัฐบาล : รัฐบาลหลอน
  • วาทะแห่งปี : รู้น้อยอย่าพูดมาก

พ.ศ. 2547

  • ฉายารัฐบาล : รัฐบาลกิน-แบ่ง
  • วาทะแห่งปี : โจรกระจอก[23]


การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี

รัฐบาลซึ่งมี พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรี ได้เข้าบริหารราชการแผ่นดิน ถึงวันที่สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เริ่มต้นจากวันที่ 6 มกราคม 2544 ถึงวันที่ 5 มกราคม 2548 และสิ้นสุดลงในวันที่ 6 มกราคม 2548 ซึ่งทำให้สภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลงด้วย (ครบ 4 ปี) และคณะรัฐมนตรีทั้งคณะต้องพ้นจากตำแหน่ง (แต่ยังคงต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไปจนกว่าวันที่คณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่ภายหลังการเลือกตั้งวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2548 จะเข้ารับหน้าที่)

เพิ่มเติม

  1. 1.0 1.1 1.2 ยุบรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย
  2. ย้าย​มาจากพรรค​ความหวัง​ใหม่​ 1 คน ต่อมาได้ลาออกไปลงสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2547
  3. ถูกศาลรัฐธรรมนูญสั่งยุบพรรค ต่อมา สส.ของพรรคก็ย้ายเข้าสังกัดกับพรรคไทยรักไทย

อ้างอิง

  1. "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี [พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 9 กุมภาพันธ์ 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 "พระบรมราชโองการ แต่งตั้งรัฐมนตรี [คณะรัฐมนตรี ชุดที่ 54]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 17 กุมภาพันธ์ 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  3. "ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การยุบพรรคความหวังใหม่เพื่อรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 พฤษภาคม 2545. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-08-06. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. "ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การยุบพรรคเสรีธรรมและรวมพรรคเสรีธรรมเข้ากับพรรคไทยรักไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 ตุลาคม 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  5. "ประกาศนายทะเบียนพรรคการเมือง เรื่อง การยุบพรรคชาติพัฒนาเพื่อรวมเข้ากับพรรคไทยรักไทย" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 17 ตุลาคม 2547. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  6. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี [ให้รัฐมนตรีที่ยังดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่มีประกาศพระบรมราชโองการนี้ พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีทั้งหมด และแต่งตั้งใหม่จำนวน ๓๕ ราย]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 9 กุมภาพันธ์ 2546. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-02. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  7. 7.0 7.1 "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี [ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี จำนวน ๑๐ ราย และแต่งตั้งรัฐมนตรี จำนวน ๑๐ ราย]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 มีนาคม 2547. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-06-05. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  8. สรุปคำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๒๙/๒๕๔๖ วันที่ ๕ สิงหาคม พุทธศักรำช ๒๕๔๖ เรื่อง คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยชี้ขาด ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา ๒๙๕ กรณีนายพิเชษฐ สถิรชวาล จงใจยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สิน และหนี้สิน และเอกสารประกอบด้วยข้อความอันเป็นเท็จ หรือปกปิดข้อเท็จจริงที่ควรแจ้งให้ทราบ
  9. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง รัฐมนตรีลาออก [นายเกษม วัฒนชัย]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 13 มิถุนายน 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  10. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี [พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร และนางสิริกร มณีรินทร์]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 14 มิถุนายน 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  11. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี [ให้นายสุวิทย์ คุณกิตติ พ้นจากความเป็นรองนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้ง นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นรองนายกรัฐมนตรี และนายสุวิทย์ คุณกิตติ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 ตุลาคม 2544. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  12. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 6 มีนาคม 2545. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  13. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี [นายพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดชนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ พ้นจากตำแหน่ง และแต่งตั้ง นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ ร้อยตำรวจเอก ปุระชัย เปี่ยมสมบูรณ์ ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐนายพรหมินทร์ เลิศสุริย์เดช นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 9 กุมภาพันธ์ 2546. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-06-05. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  14. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี [นายกร ทัพพะรังสี นายอนุรักษ์ จุรีมาศ นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายอดิศัย โพธารามิก นายวัฒนา เมืองสุข นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ นางอุไรวรรณ เทียนทอง นายพินิจ จารุสมบัติ นายปองพล อดิเรกสาร พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก นายสมศักดิ์ เทพสุทิน พ้นจากตำแหน่ง และแต่งตั้ง นายโภคิน พลกุล นายสรอรรถ กลิ่นประทุม นายสมศักดิ์ เทพสุทิน นายวิเชษฐ์ เกษมทองศรี นายวัฒนา เมืองสุข นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล นางอุไรวรรณ เทียนทอง นายอนุรักษ์ จุรีมาศ พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร นายอดิศัย โพธารามิก พลตำรวจเอก จำลอง เอี่ยมแจ้งพันธุ์ นายพินิจ จารุสมบัติ]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 8 พฤศจิกายน 2546. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-08. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  15. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี [นายประมวล รุจนเสรี, นางสิริกร มณีรินทร์ พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งนายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ เป็นรองนายกรัฐมนตรี, นายอนุทิน ชาญวีรกูล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 ตุลาคม 2544. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  16. "พระบรมราชโองการ ประกาศ รัฐมนตรีลาออก ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้งรัฐมนตรี [พลเอก ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ, พลเอก เชษฐา ฐานะจาโร ลาออก, นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา, นายสมศักดิ์ เทพสุทิน, นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล, นายสุธรรม แสงประทุม, นายอนุทิน ชาญวีรกูล, นายพินิจ จารุสมบัติ พ้นจากความเป็นรัฐมนตรี และแต่งตั้ง นายพินิจ จารุสมบัติ, นายสมศักดิ์ เทพสุทิน, พลเอก สัมพันธ์ บุญญานันต์, นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา, นายอนุทิน ชาญวีรกูล, นายสุธรรม แสงประทุม นายอารีย์ วงศ์อารยะ, นายสุชัย เจริญรัตนกุล, นายพงษ์ศักดิ์ รักตพงศ์ไพศาล เป็นรัฐมนตรี]" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 10 ตุลาคม 2544. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  17. The Nation, Public debt end-Sept falls to 41.28% of GDP เก็บถาวร 2007-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, 17 November 2006
  18. World Bank, Thailand Economic Monitor, October 2003
  19. ทวี มีเงิน, "ทักษิณ"ปั้นหรือปั่นศก. (2) "ยางพารา-ข้าว"เก่งหรือเฮง, มติชน
  20. ข่าว 'คตส.'เตรียมสอบ 4 ประเด็นใหญ่ ทุจริตกล้ายาง กรุงเทพธุรกิจบิซวีค 29 ตุลาคม พ.ศ. 2549[ลิงก์เสีย]
  21. "โครงการสวนสัตว์กลางคืน เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-10. สืบค้นเมื่อ 2009-06-19.
  22. บทความ สงครามต่อต้านยาเสพย์ติด คอลัมน์ คนเดินตรอก โดย วีรพงษ์ รามางกูร หนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ ปีที่ 26 ฉบับที่ 3462 (2662) วันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2546 หน้า 2
  23. "บันทึก ณ วันที่สภา ฯ ครบเทอม". mgronline.com. 2005-01-04.

แหล่งข้อมูลอื่น