ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระวรสารลินดิสฟาร์น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ru:Евангелие из Линдисфарна
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
top: แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 17 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 7 คน)
บรรทัด 24: บรรทัด 24:
| followed_by =
| followed_by =
}}
}}
'''พระวรสารลินดิสฟาร์น''' ({{lang-la|Lindisfarne Gospels}}, {{lang-en|Lindisfarne Gospels}} - [[หอสมุดบริติช]], [[ลอนดอน]]) เป็น[[หนังสือพระวรสาร]][[หนังสือวิจิตร|วิจิตร]]ที่เขียนเป็น[[ภาษาละติน]] ที่เขียนขึ้นที่ลินดิสฟาร์นในนอร์ทธัมเบรียเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 “''พระวรสารลินดิสฟาร์น''” ประกอบด้วยพระวรสารทั้งสี่ฉบับของ[[พันธสัญญาใหม่]] พระวรสารฉบับนี้ถือว่าเป็นงานศิลปะชิ้นที่งดงามที่สุดของงานศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของราชอาณาจักร ซึ่งเป็นลักษณะงานศิลปะที่ผสานระหว่าง[[ศิลปะแองโกล-แซ็กซอน]]และ[[ศิลปะเคลติค]]ที่เรียกว่า[[ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน]]หรือ[[ศิลปะเกาะ]]<ref>[http://books.google.com.au/books?id=n8Oj3p_wUmsC&pg=PA239&lpg=PA239&dq=lindisfarne+gospels+insular+art&source=web&ots=LF7RpmerUs&sig=53rhhzGxJhzX4fC2-OoAvRiQ9iY&hl=en Celtic and Anglo-Saxon Art: Geometric Aspects] Derek Hull, Published 2003
'''พระวรสารลินดิสฟาร์น''' ({{langx|la|Lindisfarne Gospels}}, {{langx|en|Lindisfarne Gospels}} - [[หอสมุดบริติช]], [[ลอนดอน]]) เป็น[[หนังสือพระวรสาร]][[หนังสือวิจิตร|วิจิตร]]ที่เขียนเป็น[[ภาษาละติน]] ที่เขียนขึ้นที่ลินดิสฟาร์นในนอร์ทธัมเบรียเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 “''พระวรสารลินดิสฟาร์น''” ประกอบด้วยพระวรสารทั้งสี่ฉบับของ[[พันธสัญญาใหม่]] พระวรสารฉบับนี้ถือว่าเป็นงานศิลปะชิ้นที่งดงามที่สุดของงานศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของราชอาณาจักร ซึ่งเป็นลักษณะงานศิลปะที่ผสานระหว่าง[[ศิลปะแองโกล-แซ็กซอน]]และ[[ศิลปะเคลติก]]ที่เรียกว่า[[ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน]]หรือ[[ศิลปะเกาะ]]<ref>[http://books.google.com.au/books?id=n8Oj3p_wUmsC&pg=PA239&lpg=PA239&dq=lindisfarne+gospels+insular+art&source=web&ots=LF7RpmerUs&sig=53rhhzGxJhzX4fC2-OoAvRiQ9iY&hl=en Celtic and Anglo-Saxon Art: Geometric Aspects] Derek Hull, Published 2003
Liverpool University Press. ISBN 0-85323-549-X (Google books link)</ref> พระวรสารเป็นงานฉบับสมบูรณ์ขาดก็แต่หน้าปกดั้งเดิม และอยู่ในสภาพที่ดีเมื่อคำนึงถึงอายุของหนังสือ
Liverpool University Press. ISBN 0-85323-549-X (Google books link)</ref> พระวรสารเป็นงานฉบับสมบูรณ์ขาดก็แต่หน้าปกดั้งเดิม และอยู่ในสภาพที่ดีเมื่อคำนึงถึงอายุของหนังสือ


== ประวัติ==
== ประวัติ==
“''พระวรสารลินดิสฟาร์น''” เชื่อกันว่าเป็นงานของนักบวช[[Eadfrith of Lindisfarne|เอดฟริธแห่งลินดิสฟาร์น]]ผู้ต่อมามีตำแหน่งเป็นพระสังฆราชที่นั่นในปี ค.ศ. 698 และเสียชีวิตในปี ค.ศ. 721<ref>[http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html Lindisfarne Gospels] British Library. Retrieved 2008-03-21</ref> นักวิชาการปัจจุบันระบุว่าปีที่เขียนคือราวปี ค.ศ. 715 และเชื่อกันว่าเป็นงานที่สร้างเพื่อเป็นเกียรติแก่[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]] แต่อาจจะเป็นได้ว่าเอดฟริธสร้างงานขึ้นก่อนปี ค.ศ. 698 เพื่อเป็นการฉลองการยกฐานะของ[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]]ของ[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]]ในปีนั้น<ref>Backhouse, Janet, The Lindisfarne Gospels (Oxford: Phaidon, 1981)</ref> งานพระวรสารฉบับนี้เต็มไปด้วยภาพประกอบที่ตกแต่งอย่างวิจิตรงดงามตามแบบฉบับของศิลปะเกาะ เดิมมีหน้าปกเป็นหนังที่ประดับด้วยอัญมณีและโลหะที่สร้างโดยบิลฟริธเดอะอังคอไรท์ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ระหว่างการรุกรานของไวกิงที่ลินดิสฟาร์นหน้าปกก็สูญหายไป และหน้าปกใหม่ได้รับการสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1852 อักขระที่ใช้เขียนเป็นอักขระแบบเกาะ
“''พระวรสารลินดิสฟาร์น''” เชื่อกันว่าเป็นงานของนักบวช[[Eadfrith of Lindisfarne|เอดฟริธแห่งลินดิสฟาร์น]]ผู้ต่อมามีตำแหน่งเป็นพระสังฆราชที่นั่นในปี ค.ศ. 698 และเสียชีวิตในปี ค.ศ. 721<ref>[http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html Lindisfarne Gospels] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180717174134/http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html |date=2018-07-17 }} British Library. Retrieved 2008-03-21</ref> นักวิชาการปัจจุบันระบุว่าปีที่เขียนคือราวปี ค.ศ. 715 และเชื่อกันว่าเป็นงานที่สร้างเพื่อเป็นเกียรติแก่[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]] แต่อาจจะเป็นได้ว่าเอดฟริธสร้างงานขึ้นก่อนปี ค.ศ. 698 เพื่อเป็นการฉลองการยกฐานะของ[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]]ของ[[St. Cuthbert|นักบุญคัธเบิร์ต]]ในปีนั้น<ref>Backhouse, Janet, The Lindisfarne Gospels (Oxford: Phaidon, 1981)</ref> งานพระวรสารฉบับนี้เต็มไปด้วยภาพประกอบที่ตกแต่งอย่างวิจิตรงดงามตามแบบฉบับของศิลปะเกาะ เดิมมีหน้าปกเป็นหนังที่ประดับด้วยอัญมณีและโลหะที่สร้างโดยบิลฟริธเดอะอังคอไรท์ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ระหว่างการรุกรานของไวกิงที่ลินดิสฟาร์นหน้าปกก็สูญหายไป และหน้าปกใหม่ได้รับการสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1852 อักขระที่ใช้เขียนเป็นอักขระแบบเกาะ


ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ก็ได้มีการแปลพระวรสารเป็น[[ภาษาอังกฤษโบราณ]]--โดยแทรกคำต่อคำระหว่างเนื้อหาที่เป็นภาษาละติน โดยอัลเฟรด โพรโวสต์แห่งเชสเตอร์-เลอ-สตรีท ซึ่งเป็นงานแปลพระวรสารเป็นภาษาอังกฤษฉบับที่เก่าแก่ที่สุด
ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ก็ได้มีการแปลพระวรสารเป็น[[ภาษาอังกฤษเก่า]]--โดยแทรกคำต่อคำระหว่างเนื้อหาที่เป็นภาษาละติน โดยอัลเฟรด โพรโวสต์แห่งเชสเตอร์-เลอ-สตรีท ซึ่งเป็นงานแปลพระวรสารเป็นภาษาอังกฤษฉบับที่เก่าแก่ที่สุด


ระหว่าง[[พระราชกฤษฎีกายุบอาราม|การยุบอาราม]][[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ]]ก็ทรงมีพระบรมราชโองการให้นำพระวรสารจาก[[มหาวิหารเดอแรม]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เซอร์โรเบิร์ต ค็อตตอนก็ซื้อพระวรสารจากทอมัส วอล์คเคอร์ราชเลขาธิการของรัฐสภา งานสะสมหนังสือของค็อตตอนตกมาเป็นของ[[พิพิธภัณฑ์บริติช]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต่อมา[[หอสมุดบริติช]]เมื่อแยกตัวจากพิพิธภัณฑ์<ref>[http://www.bl.uk/onlinegallery/features/lindisfarne/timeline.html Time line] British Library. Retrieved 2008-03-21</ref>
ระหว่าง[[พระราชกฤษฎีกายุบอาราม|การยุบอาราม]][[สมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ]]ก็มีพระบรมราชโองการให้นำพระวรสารจาก[[มหาวิหารเดอแรม]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เซอร์โรเบิร์ต ค็อตตอนก็ซื้อพระวรสารจากทอมัส วอล์คเคอร์ราชเลขาธิการของรัฐสภา งานสะสมหนังสือของค็อตตอนตกมาเป็นของ[[พิพิธภัณฑ์บริติช]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต่อมา[[หอสมุดบริติช]]เมื่อแยกตัวจากพิพิธภัณฑ์<ref>[http://www.bl.uk/onlinegallery/features/lindisfarne/timeline.html Time line] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200116144207/http://www.bl.uk/onlinegallery/features/lindisfarne/timeline.html |date=2020-01-16 }} British Library. Retrieved 2008-03-21</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 49: บรรทัด 49:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commonscat-inline|Lindisfarne Gospels|พระวรสารลินดิสฟาร์น}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่-บรรทัด|Lindisfarne Gospels|พระวรสารลินดิสฟาร์น}}
*[http://www.fathom.com/course/33702501/index.html The Lindisfarne Gospels], a free online seminar from the [[British Library]].
*[http://www.fathom.com/course/33702501/index.html The Lindisfarne Gospels] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20051130073122/http://www.fathom.com/course/33702501/index.html |date=2005-11-30 }}, a free online seminar from the [[British Library]].
*[http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html Lindisfarne Gospels: information, zoomable image] British Library website
*[http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html Lindisfarne Gospels: information, zoomable image] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180717174134/http://www.bl.uk/onlinegallery/sacredtexts/lindisfarne.html |date=2018-07-17 }} British Library website
*[http://www.bl.uk/catalogues/illuminatedmanuscripts/record.asp?MSID=6469&CollID=7&NStart=60404 British Library Digital Catalogue of Illuminated Manuscripts entry]
*[http://www.bl.uk/catalogues/illuminatedmanuscripts/record.asp?MSID=6469&CollID=7&NStart=60404 British Library Digital Catalogue of Illuminated Manuscripts entry] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20200803164652/http://www.bl.uk/catalogues/illuminatedmanuscripts/record.asp?MSID=6469&CollID=7&NStart=60404 |date=2020-08-03 }}
*[http://www.northumbrianassociation.com/gospels.html Lindisfarne Gospels], from the Northumbrian Association.
*[http://www.northumbrianassociation.com/gospels.html Lindisfarne Gospels] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120620210212/http://www.northumbrianassociation.com/gospels.html |date=2012-06-20 }}, from the Northumbrian Association.


{{เรียงลำดับ|พระวรสารลินดิสฟาร์น}}
[[หมวดหมู่:หนังสือพระวรสาร|ลินดิสฟาร์น]]
[[หมวดหมู่:หนังสือพระวรสาร|ลินดิสฟาร์น]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมคริสต์ศาสนา]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมศาสนาคริสต์]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมยุคกลาง]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมสมัยกลาง]]
[[หมวดหมู่:หนังสือวิจิตร]]
[[หมวดหมู่:เอกสารตัวเขียนสีวิจิตร]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาละติน]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมภาษาละติน]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอน]]
[[หมวดหมู่:หนังสือจากคริสต์ศตวรรษที่ 8]]
[[หมวดหมู่:หนังสือจากคริสต์ศตวรรษที่ 8]]
[[หมวดหมู่:งานสะสมของหอสมุดบริติช]]
[[หมวดหมู่:งานสะสมของหอสมุดบริติช]]

[[de:Book of Lindisfarne]]
[[en:Lindisfarne Gospels]]
[[es:Evangelios de Lindisfarne]]
[[fr:Évangiles de Lindisfarne]]
[[gl:Evanxeos de Lindisfarne]]
[[it:Evangeliario di Lindisfarne]]
[[ja:リンディスファーンの福音書]]
[[nl:Lindisfarne-gospels]]
[[pt:Evangelhos de Lindisfarne]]
[[ru:Евангелие из Линдисфарна]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 22:58, 7 พฤศจิกายน 2567

พระวรสารลินดิสฟาร์น
Lindisfarne Gospels
โฟลิโอ 27r จากหนังสือ “พระวรสารลินดิสฟาร์น
ผู้ประพันธ์เอดฟริธแห่งลินดิสฟาร์น?
ประเทศราชอาณาจักรนอร์ทธัมเบรีย
ภาษาภาษาละติน
หัวเรื่องหนังสือพระวรสาร
วันที่พิมพ์ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8
ชนิดสื่อหนังสือวิจิตร

พระวรสารลินดิสฟาร์น (ละติน: Lindisfarne Gospels, อังกฤษ: Lindisfarne Gospels - หอสมุดบริติช, ลอนดอน) เป็นหนังสือพระวรสารวิจิตรที่เขียนเป็นภาษาละติน ที่เขียนขึ้นที่ลินดิสฟาร์นในนอร์ทธัมเบรียเมื่อปลายคริสต์ศตวรรษที่ 7 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 8 “พระวรสารลินดิสฟาร์น” ประกอบด้วยพระวรสารทั้งสี่ฉบับของพันธสัญญาใหม่ พระวรสารฉบับนี้ถือว่าเป็นงานศิลปะชิ้นที่งดงามที่สุดของงานศิลปะอันเป็นเอกลักษณ์ของราชอาณาจักร ซึ่งเป็นลักษณะงานศิลปะที่ผสานระหว่างศิลปะแองโกล-แซ็กซอนและศิลปะเคลติกที่เรียกว่าศิลปะไฮเบอร์โน-แซ็กซอนหรือศิลปะเกาะ[1] พระวรสารเป็นงานฉบับสมบูรณ์ขาดก็แต่หน้าปกดั้งเดิม และอยู่ในสภาพที่ดีเมื่อคำนึงถึงอายุของหนังสือ

ประวัติ

[แก้]

พระวรสารลินดิสฟาร์น” เชื่อกันว่าเป็นงานของนักบวชเอดฟริธแห่งลินดิสฟาร์นผู้ต่อมามีตำแหน่งเป็นพระสังฆราชที่นั่นในปี ค.ศ. 698 และเสียชีวิตในปี ค.ศ. 721[2] นักวิชาการปัจจุบันระบุว่าปีที่เขียนคือราวปี ค.ศ. 715 และเชื่อกันว่าเป็นงานที่สร้างเพื่อเป็นเกียรติแก่นักบุญคัธเบิร์ต แต่อาจจะเป็นได้ว่าเอดฟริธสร้างงานขึ้นก่อนปี ค.ศ. 698 เพื่อเป็นการฉลองการยกฐานะของนักบุญคัธเบิร์ตของนักบุญคัธเบิร์ตในปีนั้น[3] งานพระวรสารฉบับนี้เต็มไปด้วยภาพประกอบที่ตกแต่งอย่างวิจิตรงดงามตามแบบฉบับของศิลปะเกาะ เดิมมีหน้าปกเป็นหนังที่ประดับด้วยอัญมณีและโลหะที่สร้างโดยบิลฟริธเดอะอังคอไรท์ในคริสต์ศตวรรษที่ 8 ระหว่างการรุกรานของไวกิงที่ลินดิสฟาร์นหน้าปกก็สูญหายไป และหน้าปกใหม่ได้รับการสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1852 อักขระที่ใช้เขียนเป็นอักขระแบบเกาะ

ในคริสต์ศตวรรษที่ 10 ก็ได้มีการแปลพระวรสารเป็นภาษาอังกฤษเก่า--โดยแทรกคำต่อคำระหว่างเนื้อหาที่เป็นภาษาละติน โดยอัลเฟรด โพรโวสต์แห่งเชสเตอร์-เลอ-สตรีท ซึ่งเป็นงานแปลพระวรสารเป็นภาษาอังกฤษฉบับที่เก่าแก่ที่สุด

ระหว่างการยุบอารามสมเด็จพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษก็มีพระบรมราชโองการให้นำพระวรสารจากมหาวิหารเดอแรม ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 เซอร์โรเบิร์ต ค็อตตอนก็ซื้อพระวรสารจากทอมัส วอล์คเคอร์ราชเลขาธิการของรัฐสภา งานสะสมหนังสือของค็อตตอนตกมาเป็นของพิพิธภัณฑ์บริติชในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และต่อมาหอสมุดบริติชเมื่อแยกตัวจากพิพิธภัณฑ์[4]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Celtic and Anglo-Saxon Art: Geometric Aspects Derek Hull, Published 2003 Liverpool University Press. ISBN 0-85323-549-X (Google books link)
  2. Lindisfarne Gospels เก็บถาวร 2018-07-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน British Library. Retrieved 2008-03-21
  3. Backhouse, Janet, The Lindisfarne Gospels (Oxford: Phaidon, 1981)
  4. Time line เก็บถาวร 2020-01-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน British Library. Retrieved 2008-03-21

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Calkins, Robert G. Illuminated Books of the Middle Ages. Ithaca, New York: Cornell University Press, 1983.
  • De Hamel, Christopher. A History of Illuminated Manuscripts. Boston: David R. Godine, 1986.
  • Walther, Ingo F. and Norbert Wolf. Codices Illustres: The world's most famous illuminated manuscripts, 400 to 1600. Köln, TASCHEN, 2005.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ พระวรสารลินดิสฟาร์น