พ.ศ. 2541
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1998)
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2541 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1998 MCMXCVIII |
Ab urbe condita | 2751 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1447 ԹՎ ՌՆԽԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6748 |
ปฏิทินบาไฮ | 154–155 |
ปฏิทินเบงกอล | 1405 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2948 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 46 Eliz. 2 – 47 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2542 |
ปฏิทินพม่า | 1360 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7506–7507 |
ปฏิทินจีน | 丁丑年 (ฉลูธาตุไฟ) 4694 หรือ 4634 — ถึง — 戊寅年 (ขาลธาตุดิน) 4695 หรือ 4635 |
ปฏิทินคอปติก | 1714–1715 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3164 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1990–1991 |
ปฏิทินฮีบรู | 5758–5759 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2054–2055 |
- ศกสมวัต | 1920–1921 |
- กลียุค | 5099–5100 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11998 |
ปฏิทินอิกโบ | 998–999 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1376–1377 |
ปฏิทินอิสลาม | 1418–1419 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเฮเซ 10 (平成10年) |
ปฏิทินจูเช | 87 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4331 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 87 民國87年 |
เวลายูนิกซ์ | 883612800–915148799 |
พุทธศักราช2541 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1998 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีขาล สัมฤทธิศก จุลศักราช 1360 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: นายชวน หลีกภัย (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544)
เหตุการณ์
[แก้]กุมภาพันธ์
[แก้]- 4 กุมภาพันธ์ - เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.1 ริกเตอร์ ทางตอนเหนือของอัฟกานิสถาน ทำให้มีผู้เสียชีวิตกว่า 5,000 คน
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม - ยานกาลิเลโอค้นพบน้ำในสถานะของเหลวบนยูโรปา ดาวบริวารของดาวพฤหัสบดี[ต้องการอ้างอิง]
- 5 มีนาคม
- องค์การนาซาประกาศว่ายานเคลเมนไทน์ที่กำลังโคจรรอบดวงจันทร์ ค้นพบน้ำในหลุมที่ขั้วของดวงจันทร์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการตั้งฐานบนดวงจันทร์ และเป็นสถานีเติมเชื้อเพลิงในอนาคต[ต้องการอ้างอิง]
เมษายน
[แก้]- 10 เมษายน - มีการลงนามในข้อตกลงเบลฟาสต์ หนึ่งในกระบวนการสันติภาพไอร์แลนด์เหนือ
- 12 เมษายน - กลุ่มทหารตาลีบันใช้ปืนใหญ่ยิงพระพุทธรูปบามิยัน
- 15 เมษายน - พอล พต อดีตผู้นำเขมรแดง เสียชีวิตด้วยอาการหัวใจล้มเหลวบริเวณเทือกเขาในเขตจังหวัดอันลองเวง ประเทศกัมพูชา
- 19 เมษายน - สถานีโทรทัศน์ทีวีไนน์ เริ่มแพร่ภาพออกอากาศ
พฤษภาคม
[แก้]- 2 พฤษภาคม-ฮิเดะโตะ มัตซึโมโตะ อดีตมือกีต้าร์วง xjapan เสียชีวิต ตำรวจสัญนิฐานว่า เขาผูกคอตัวเองที่ประตูห้องพัก
- 7 พฤษภาคม - เป็นวันเกิดของมิสเตอร์บีสต์
- 18 พฤษภาคม - กระทรวงยุติธรรมแห่งสหรัฐอเมริกา และ 20 รัฐ ยื่นเอกสารฟ้องในกรณีบริษัทไมโครซอฟท์ละเมิดกฎหมายป้องกันการผูกขาด
- 21 พฤษภาคม - ผลพวงจากวิกฤติเศรษฐกิจจนทำให้เกิดความวุ่นวายในอินโดนีเซีย ซูฮาร์โตประกาศลาออก หลังดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีมานานถึง 32 ปี โดยให้นายยูซุฟ ฮาบีบี รองประธานาธิบดี ขึ้นดำรงตำแหน่งเป็นประธานาธิบดีคนที่ 3 ของประเทศ
- 28 พฤษภาคม - ปากีสถานทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ 5 ครั้ง เพื่อตอบโต้การทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ของอินเดีย เหตุการณ์นี้ส่งผลให้สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศอื่น ๆ คว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่อปากีสถาน
- 30 พฤษภาคม - เกิดแผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่ภาคเหนือของอัฟกานิสถาน โดยวัดความรุนแรงได้ 6.6 ริกเตอร์ คร่าชีวิตผู้คนไปกว่า 5,000 คน
มิถุนายน
[แก้]- 10 มิถุนายน - ประเทศคาซัคสถานย้ายเมืองหลวงจากอัลมาเตอไปอัสตานา
- 11 มิถุนายน - บริษัทคอมแพคจ่ายเงิน 9,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อเข้าครอบครองบริษัทเดค (DEC: Digital Equipment Corporation) นับเป็นการซื้อขายเทคโนโลยีไฮเทคที่มีมูลค่าสูงสุดขณะนั้น
- 25 มิถุนายน - บริษัทไมโครซอฟท์วางจำหน่ายวินโดวส์ 98
กรกฎาคม
[แก้]14 กรกฎาคม -วันก่อตั้งพรรคไทยรักไทย
สิงหาคม
[แก้]- 7 สิงหาคม - การวางระเบิดสถานทูตสหรัฐ พ.ศ. 2541: ผู้ก่อการร้ายวางระเบิดในสถานทูตสหรัฐอเมริกา ณ นครดาร์-เอส-ซาลาม ประเทศแทนซาเนีย และไนโรบี ประเทศเคนยา ทำให้มีผู้เสียชีวิต 224 คน บาดเจ็บมากกว่า 4,500 คน
- 15 สิงหาคม - กองทัพสาธารณรัฐไอร์แลนด์ลอบวางระเบิดรถยนต์ที่ศาลท้องถิ่นในเมืองโอมากฮ์ ไอร์แลนด์เหนือ มีผู้เสียชีวิต 29 คน
- 17 สิงหาคม - คดีลูวินสกี: ประธานาธิบดีบิล คลินตัน ให้การยอมรับว่า "มีความสัมพันธ์ทางกายที่ไม่เหมาะสม" กับโมนิกา ลูวินสกี อดีตเจ้าหน้าที่ฝึกงานในทำเนียบขาว
กันยายน
[แก้]- 4 กันยายน
- กูเกิล ถูกก่อตั้งขึ้นโดยแลร์รี เพจ และเซอร์เกย์ บริน 2 นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด
- พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ดำรงตำแหน่ง ประธานองคมนตรี
- 18 กันยายน - วันก่อตั้งไอแคนน์ (ICANN) องค์กรไม่แสวงผลกำไรที่ทำหน้าที่กำหนดชื่อโดเมนและเลขที่อยู่ไอพีบนอินเทอร์เน็ต
- 20 กันยายน - ตำรวจมาเลเซียจับกุมอันวาร์ อิบราฮิม อดีตรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีการคลังมาเลเซีย ที่บ้านพักชานกัวลาลัมเปอร์ ตั้งข้อหาประพฤติผิดทางเพศ ละเมิดกฎหมายความมั่นคงภายในประเทศ เป็นผู้นำก่อความไม่สงบในที่สาธารณะ ชุมนุมอย่างผิดกฎหมาย และก่อเหตุจลาจล ฯลฯ
ตุลาคม
[แก้]- 18 ตุลาคม - กองทัพปลดปล่อยแห่งชาติโคลัมเบียลอบวางระเบิดท่อส่งน้ำโอเวนซา มีผู้เสียชีวิต 71 คน
พฤศจิกายน
[แก้]- 2 พฤศจิกายน - เกิดอุบัติเหตุธูปขนาดใหญ่ 3 ต้น ที่สร้างขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาแด่พระร่วงโรจนฤทธิ์ในโอกาสครบรอบ 84 ปี หน้าองค์พระปฐมเจดีย์ วัดพระปฐมเจดีย์วรมหาวิหาร จังหวัดนครปฐม ล้มทับประชาชน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 5 คน บาดเจ็บ 13 คน
- 9 พฤศจิกายน - วันก่อตั้งพรรคพลังประชาชนครั้งนี้ถือเป็นครั้งที่ 3 ที่ผู้ก่อตั้งพรรคได้ชื่อว่าพลังประชาชน โดยผู้ก่อตั้งพรรคในครั้งนี้ คือ พ.ต.ท.กานต์ เทียนแก้ว
- พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)
- 13 พฤศจิกายน - ริคาร์โด โลเปซสร้างสถิติป้องกันแชมป์โลกสูงสุดในรุ่นมินิมัมเวทในวันนี้ เมื่อป้องกันแชมป์โลกรุ่นสตรอเวท WBC ครั้งที่ 22 ชนะคะแนนโรเซนโด อัลวาเรซ และยังเป็นสถิติโลกจนถึงปัจจุบัน
- 20 พฤศจิกายน - มอดูลซาร์ยา ซึ่งเป็นมอดูลส่วนแรกของสถานีอวกาศนานาชาติ ถูกส่งขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวดโปรตอนจากฐานส่งจรวดในประเทศคาซัคสถาน
ธันวาคม
[แก้]- 18 ธันวาคม - อับดูรอจิก อาบูร์บากา จันจาลอนี ผู้นำกลุ่มอาบูไซยาฟถูกตำรวจฟิลิปปินส์สังหารในการปะทะกันที่เกาะบาสิลัน
- 19 ธันวาคม - สภาผู้แทนราษฎรแห่งสหรัฐอเมริกาผ่านความเห็นชอบพิจารณาถอดถอนบิล คลินตัน ออกจากตำแหน่งประธานาธิบดี เนื่องจากให้การเท็จต่อลูกขุนและขัดขวางกระบวนการยุติธรรมในคดีลูวินสกี
ไม่ทราบวัน
[แก้]- ค้นพบ ธาตุฟลีโรเวียม
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 2 มกราคม - ทิโมธี โฟซู-เมนซาห์ นักฟุตบอลชาวฮอลแลนด์
- 4 มกราคม - กรึสเตียน บีแยลิก นักฟุตบอลชาวโปแลนด์
- 7 มกราคม - แสตมป์ เกียรตินิวัฒน์ นักมวยสากลชาวไทย
- 14 มกราคม - พิทยา แซ่ฉั่ว นักร้อง และนักแสดงชายชาวไทย
- 18 มกราคม - จิรดาภา อินทจักร สมาชิกวงบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต
- 21 มกราคม - ณัฐวัฒน์ ชัยณรงค์โสภณ นักแสดงชายชาวไทย
กุมภาพันธ์
[แก้]- 2 กุมภาพันธ์ - ชลธร คงยิ่งยง นักแสดงชายชาวไทย
- 18 กุมภาพันธ์ - เปรมอนันต์ ศรีพานิช นักแสดงชายชาวไทย
- 19 กุมภาพันธ์ - คิม จองอู สมาชิกวง NCT ไอดอลเกาหลีใต้
- 28 กุมภาพันธ์ - สิริการย์ ชินวัชร์สุวรรณ สมาชิกวง BNK48
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม - คารีสา สปริงเก็ตต์ นักแสดงหญิงชาวไทย
- 8 มีนาคม - กัลย์สุดา ชนาคีรี นางแบบและนางงามชาวไทย-เมียนมา
- 19 มีนาคม - ซากูระ มิยาวากิ สมาชิกวง เลเซราฟิม อดีตสมาชิกวง HKT48, AKB48 และ ไอซ์วัน
- 26 มีนาคม - โอมาร์ อายูโซ นักแสดงชาวสเปน
เมษายน
[แก้]- 30 เมษายน - อัปสรสิริ อินทรคูสิน นักแสดงหญิงชาวไทย
พฤษภาคม
[แก้]- 7 พฤษภาคม - ดานี โอลโม นักฟุตบอลชาวสเปน
- 7 พฤษภาคม - ศิวกร อดุลสุทธิกุล นักร้องและนักแสดงชาวไทย
- 7 พฤษภาคม - มิสเตอร์บีสต์ ยูทูปเบอร์ชาวอเมริกัน
- 17 พฤษภาคม - ชวินโรจน์ ลิขิตเจริญสกุล นักแสดงชายชาวไทย
- 21 พฤษภาคม - ณัฐณิชา ใจแสน นักวอลเลย์บอลหญิงชาวไทย
- 23 พฤษภาคม - เกวลิน พูลภีไกร นักร้องชาวไทย
- 24 พฤษภาคม - รีนุ นักร้องและนักพากย์ชายชาวญี่ปุ่น สมาชิกวงสตรอว์เบอร์รี่พริ้นซ์
- 28 พฤษภาคม - ริโฮะ ซะยะชิ นักร้องชาวญี่ปุ่น
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน - นฤภรกมล ฉายแสง นักแสดงชาวไทย
- 3 มิถุนายน - ปาลิตา เชื้อสาวะถี นักร้องลูกทุ่งหญิงชาวไทย
- 5 มิถุนายน - ยูลียา ลิปนิตสกายา นักกีฬาสเกตลีลาชาวรัสเซีย
- 15 มิถุนายน - ณดล ล้ำประเสริฐ นักร้องนักแสดงชาวไทย
- 16 มิถุนายน - พิมพิชยา ก๊กรัมย์ นักวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติไทย
- 23 มิถุนายน - อนิสา ยอดพินิจ นักวอลเลย์บอลหญิงชาวไทย
กรกฎาคม
[แก้]- 13 กรกฎาคม - ภัทรพลฒ์ เดชพงษ์วรานนท์ นักแสดง/นายแบบชาวไทย
- 22 กรกฎาคม - สหภาพ วงศ์ราษฎร์ นักร้อง/นักแสดงชาวไทย
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - เทวินทร์ หาญปราบ นักกีฬาเทวันโดทีมชาติไทย
- 5 สิงหาคม - คะนง ซุซุกิ นักร้องหญิงญี่ปุ่น
- 8 สิงหาคม - ชอว์น เมนเดส นักร้องแคนาดา
- 12 สิงหาคม – เหงียน ทุก ถวี่ เตียน นางแบบและนางงามชาวเวียดนาม
- 21 สิงหาคม - กฤติมุก จันทร์ชื่น นักร้องชายชาวไทย
- 28 สิงหาคม - สุชาดา เช็คลีย์ นักแสดงหญิงชาวไทย
กันยายน
[แก้]- 9 กันยายน - รัญชน์รวี เอื้อกูลวราวัตร นักแสดงหญิงชาวไทย
- 13 กันยายน - พิณญาดา จึงกาญจนา สมาชิกวง BNK48
- 30 กันยายน - มิโอริ โอคุโบะ สมาชิกวง BNK48
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม - อานันท์ หว่อง นักแสดงชาวไทย
- 2 ตุลาคม - ลำไย ไหทองคำ นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
- 13 ตุลาคม - ธนวัฒน์ รัตนกิจไพศาล นักแสดงชาวไทย
- 22 ตุลาคม - พาริส อินทรโกมาลย์สุต นักแสดงชาวไทย
- 24 ตุลาคม - รัธพงศ์ ภูรีสิทธิ์ (ยังโอม) นักร้องชาวไทย
พฤศจิกายน
[แก้]- 9 พฤศจิกายน - จ้าว ลูซือ นักแสดงชาวจีน
- 14 พฤศจิกายน - อิศรินทร์ ทวีปถาวรวงศ์ นักเทควันโดชาวไทย
- 26 พฤศจิกายน - อี จีโอ นักแสดงเกาหลีใต้
- 24 พฤศจิกายน - ลภัส งามเชวง นักร้องและนักแสดงชาวไทย
ธันวาคม
[แก้]- 3 ธันวาคม - วชิราพร พัฒนพานิช นักร้องชาวไทย
- 14 ธันวาคม - เจนี่ นักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้
- 16 ธันวาคม - รีซ ออกซฟอร์ด นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 17 ธันวาคม
- มาร์ติน เออเดอโกร์ - นักฟุตบอลชาวนอร์เวย์
- มานู ริโอส - นักแสดง, นักร้อง และนายแบบชาวสเปน
- 20 ธันวาคม - หวัง เหอตี้ นักแสดงชายชาวจีน
- 23 ธันวาคม - คิม ดา-นี นักแสดงหญิงชาวเกาหลีใต้
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 2 มกราคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ (ประสูติ 1 เมษายน พ.ศ. 2458)
- 28 มกราคม - โชทาโร่ อิชิโนะโมะริ ผู้สร้างมาสค์ไรเดอร์และขบวนการนักสู้ (โกเรนเจอร์ จนถึง แจ็กเกอร์) (เกิดวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2481)
- 2 กุมภาพันธ์ - พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสุทธสิริโสภา (ประสูติ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2464)
- 6 มีนาคม - หม่อมเจ้าวินิตา รพีพัฒน์ (ประสูติ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2456)
- 10 มีนาคม - หม่อมเจ้าชิดชนก กฤดากร นักการทูตชาวไทย (เกิด 23 ตุลาคม พ.ศ. 2447)
- 15 มีนาคม - เพรียบ หุตางกูร ตุลาการชาวไทย (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2456)
- 3 เมษายน - ส่งสุข ภัคเกษม นักการเมืองชาวไทย (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2476)
- 5 เมษายน - โคซี พาวเวลล์ นักดนตรีชาวอังกฤษ (เกิด 29 ธันวาคม พ.ศ. 2490)
- 7 เมษายน - ขจรศักดิ์ ศรีสวาสดิ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (เกิด 10 ธันวาคม พ.ศ. 2488)
- 15 เมษายน - พล พต อดีตเขมรแดง (เกิด 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2468)
- 2 พฤษภาคม - ฮิเดะ มือกีตาร์/อดีตสมาชิกวง เอ็กซ์ เจแปน (เกิด 13 ธันวาคม พ.ศ. 2507)
- 6 พฤษภาคม - พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ นายกรัฐมนตรีคนที่ 17 ของไทย (เกิด5 เมษายน พ.ศ. 2463)
- 14 พฤษภาคม - แฟรงค์ ซินาตรา นักร้อง/นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 12 ธันวาคม พ.ศ. 2458)
- 2 มิถุนายน - จังก์ยาร์ด ด็อก นักมวยปล้ำอาชีพชาวแอฟริกันอเมริกัน (เกิด 13 ธันวาคม พ.ศ. 2495)
- 25 ตุลาคม - เปลื้อง ณ นคร นักเขียนชาวไทย (เกิด 4 กันยายน พ.ศ. 2452)
- 5 พฤศจิกายน - โมะโมะโกะ โคชิ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น (เกิด 7 มีนาคม พ.ศ. 2475)
- 9 พฤศจิกายน - ศรัณย์ สาครสิน นักแสดง/นายแบบชาวไทย (เกิด 25 เมษายน พ.ศ. 2518)
- 11 ธันวาคม - ธวัช วิชัยดิษฐ นักการเมืองไทย (เกิด 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2483)
- สาขาเคมี – Walter Kohn, John Pople
- สาขาวรรณกรรม – โจเซ ซารามาโก
- สาขาสันติภาพ – จอห์น ฮูม, เดวิด ทริมเบิล
- สาขาฟิสิกส์ – Robert B. Laughlin, Horst Ludwig Störmer, Daniel Chee Tsui
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – โรเบิร์ท เอฟ. เฟอร์ชกอทท์, หลุยส์ เจ. อิญาร์โร, เฟอริด มูราด
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – อมรรตยะ เสน