ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาปะหล่อง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาปะหล่อง
De'ang, Ta'ang
ပလောင်ဘာသာ, တအောင်းဘာသာ
ประเทศที่มีการพูดประเทศพม่า, ประเทศจีน, ประเทศไทย
ชาติพันธุ์ชาวปะหล่อง
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (ประมาณ 560,000 คน อ้างถึง1982–??)[1]
ตระกูลภาษา
ระบบการเขียนอักษรพม่า, อักษรไทใต้คง
รหัสภาษา
ISO 639-3มีหลากหลาย:
pll – Shwe
pce – Ruching
rbb – Rumai
เอกสารตัวเขียนภาษาปะหล่อง

ภาษาปะหล่อง หรือ Ta'ang (พม่า: ပလောင်ဘာသာ) มีอีกชื่อว่า De'ang (จีน: 德昂語; พม่า: တအာင်းဘာသာ) เป็นกลุ่มภาษาย่อยในตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติกที่มีผู้พูดมากกว่าครึ่งล้านคนในประเทศพม่า (รัฐฉาน) และประเทศเพื่อนบ้าน ชาวปะหล่องแบ่งออกเป็น Palé (Ruching), Rumai และ Shwe และแต่ละกลุ่มมีภาษาเป็นของตนเอง[2][3]

จำนวนผู้พูดยังไม่เป็นที่แน่ชัด โดยมีผู้พูดในกลุ่มชน Shwe 150,000 คนใน ค.ศ. 1982, Ruching (Palé) 272,000 คนใน ค.ศ. 2000 และ Rumai 139,000 คนที่ไม่ทราบวันที่บันทึก[1] แผนที่ชุดภาษาใกล้สูญของโลกของยูเนสโกจัดให้ภาษาปะหล่องอยู่ในกลุ่มภาษาที่ "ใกล้สูญขั้นรุนแรง"[4][5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 Shwe ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Ruching ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
    Rumai ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. Waddington, Ray (2003). "The Palaung". The Peoples of the World Foundation (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 May 2012.
  3. Klose, Albrecht (2001). Sprachen der Welt Ein weltweiter Index der Sprachfamilien, Einzelsprachen und Dialekte, mit Angabe der Synonyma und fremdsprachigen Äquivalente / Languages of the World: A Multi-lingual Concordance of Languages, Dialects, and Language-families (2nd rev. and enl. ed.). München: K.G. Saur. p. 403. ISBN 3-598-11404-4.
  4. "UNESCO Interactive Atlas of the World's Languages in Danger". United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-06-03.
  5. Moseley, Christopher (2010). Atlas of the World's Languages in Danger (ภาษาอังกฤษ). United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. ISBN 978-92-3-104096-2.

ข้อมูล

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]