ราเวนนา
หน้าตา
ราเวนนา Ravèna (โรมัญญา) | |
---|---|
โมเสกจักรพรรดิจัสติเนียนและข้าราชสำนักที่มหาวิหารซานวิทาเล ที่ราเวนนา | |
พิกัด: 44°24′58″N 12°12′06″E / 44.41611°N 12.20167°E | |
ประเทศ | อิตาลี |
แคว้น | เอมีเลีย-โรมัญญา |
จังหวัด | ราเวนนา (RA) |
Frazioni | (subdivisions)
|
การปกครอง | |
• นายกเทศมนตรี | มิเชลเล เด ปาสเก (PD) |
พื้นที่[1] | |
• ทั้งหมด | 652.89 ตร.กม. (252.08 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 4 เมตร (13 ฟุต) |
ประชากร (1 มกราคม ค.ศ. 2014)[3] | |
• ทั้งหมด | 158,784 คน |
• ความหนาแน่น | 240 คน/ตร.กม. (630 คน/ตร.ไมล์) |
เดมะนิม | Ravennate, Ravennese[4] |
เขตเวลา | UTC+1 (CET) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+2 (CEST) |
รหัสไปรษณีย์ | 48100 |
รหัสเขตโทรศัพท์ | 0544 |
นักบุญองค์อุปถัมภ์ | นักบุญอโพลินอาริส |
วันสมโภชนักบุญ | July 23 |
เว็บไซต์ | เว็บไซต์ทางการ |
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก | |
---|---|
ภาพโมเสกของจักรพรรดิยุสตินิอานุสที่ 1 ที่มหาวิหารซานวิทาเล, ราเวนนา | |
เกณฑ์พิจารณา | Cultural: i, ii, iii, iv |
อ้างอิง | 788 |
ขึ้นทะเบียน | 1996 (สมัยที่ 20th) |
พื้นที่ | 1.32 เอเคอร์ |
ราเวนนา[5] (อิตาลี: Ravenna; โรมัญญา: Ravèna) เป็นเมืองที่อยู่ในแคว้นเอมีเลีย-โรมัญญา ประเทศอิตาลี ราเวนนาเคยเป็นเมืองหลักของจักรวรรดิโรมันตะวันตก และอาณาจักรออสโตรกอท (Ostrogoth Kingdom) ในเวลาต่อมา ปัจจุบันเป็นเมืองหลวงของจังหวัดราเวนนา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 652 ตารางกิโลเมตร ราเวนนาเป็นเมืองที่มีเนี้อที่ใหญ่เป็นที่สองของอิตาลีรองจากกรุงโรม
สิ่งที่น่าสนใจ
[แก้]เมืองราเวนนามีคริสต์ศาสนสถานสมัยคริสเตียนยุคแรกที่ได้รับเลือกโดยองค์การยูเนสโกให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก 8 แห่ง
- หอศีลจุ่มเนโอเนียน (Neonian Baptistery) - ประมาณปี ค.ศ. 430
- สถานที่เก็บศพกาลลาพลาชิเดีย (Mausoleum of Galla Placidia) - ประมาณปี ค.ศ. 430
- หอศีลจุ่มอาริอัน (Arian Baptistry) - ประมาณปี ค.ศ. 500
- โบสถ์น้อยอาคิเอพิสโคพาล (Archiepiscopal Chapel) - ประมาณปี ค.ศ. 500
- มหาวิหารซานอพอลลินาเรนูโอโว (Basilica Sant'Apollinare Nuovo) - ประมาณปี ค.ศ. 500
- สถานที่เก็บศพทีโอโดริค (Mausoleum of Theodoric) ประมาณปี ค.ศ. 520
- มหาวิหารซานวิทาเล (Basilica of San Vitale) ค.ศ. 548
- มหาวิหารซานอพอลลินาเรอินคลาสเซ (Basilica of Sant' Apollinare in Classe) ค.ศ. 549
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Superficie di Comuni Province e Regioni italiane al 9 ottobre 2011". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
- ↑ "Popolazione Residente al 1° Gennaio 2018". สืบค้นเมื่อ 16 มีนาคม 2019.
- ↑ GeoDemo - Istat.it
- ↑ Generally speaking, adjectival "Ravenna" and "Ravennate" are more common for most adjectival uses—the Ravenna Cosmography, Ravenna grass, the Ravennate fleet—while "Ravennese" is more common in reference to people. The neologism "Ravennan" is also encountered. The Italian form is ravennate; in Latin, Ravennatus, Ravennatis, and Ravennatensis are all encountered.
- ↑ CATHOLIC ENCYCLOPEDIA: Ravenna[1]
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ราเวนนา