ข้ามไปเนื้อหา

สมองบวม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมองบวมน้ำ
ชื่ออื่นBrain edema,[1] Cerebral oedema, [2] Brain swelling
ภาพเอ็มอาร์ไอกะโหลกศีรษะ (T2 แฟลร์) ของมะเร็งระยะกระจายที่สมอง แสดงอาการบวมน้ำของสมอง
อาการปวดหัว, คลื่นไส้, อาจเจียน, การรับรู้ลดลง, อาการชัก
โรคอื่นที่คล้ายกันischemic stroke, subdural hematoma, epidural hematoma, intracerebral hematoma, intraventricular hemorrhage, subarachnoid hemorrhage, hydrocephalus, traumatic brain injury, brain abscess, brain tumor, hyponatremia, hepatic encephalopathy

สมองบวม หรือ สมองบวมน้ำ (อังกฤษ: Cerebral edema) เป็นการสะสมของของเหลวมากเกินปกติ (อาการบวมน้ำ) ในช่องว่างในเซลล์หรือนอกเซลล์ในสมอง[1] โดยทั่วไปแล้วส่งผลให้เกิดความผิดปกติทางประสาท, ความดันในกะโหลกสูง และท้ายที่สุดอาจนำไปสู่การเกิดสมองเลื่อนตัวผิดปรกติ[1] อาการแสดงขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการบวมและตำแหน่งที่กระทบ โดยทั่วไปมักเกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นเหียน อาเจียน ชัก ง่วงซึม การมองเห็นมีปัญหา มึนงง และในกรณีที่รุนแรงอาจเกิดโคมาและเสียชีวิตได้[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 Leinonen, Ville; Vanninen, Ritva; Rauramaa, Tuomas (2018), "Raised intracranial pressure and brain edema", Handbook of Clinical Neurology (ภาษาอังกฤษ), Elsevier, 145: 25–37, doi:10.1016/b978-0-12-802395-2.00004-3, ISBN 978-0-12-802395-2, PMID 28987174
  2. 'Oedema' is the standard form defined in the Concise Oxford English Dictionary (2011), with the precision that the spelling in the United States is 'edema'.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
การจำแนกโรค

แม่แบบ:Disorders of volume state