ประเทศไทยใน พ.ศ. 2467
หน้าตา
| |||||
ดูเพิ่ม: |
---|
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2467 (ค.ศ. 1924) ในประเทศไทย เป็นปีที่ 143 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และเป็นปีที่ 15 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว และนับเป็นปี พ.ศ. 2466 (1 มกราคม - 31 มีนาคม) และ 2467 (1 เมษายน - 31 ธันวาคม) ในแบบปัจจุบัน
ผู้นำ
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๖
- อธิบดีศาลฎีกา: เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ก่อนวันที่ 23 พฤศจิกายน ใช้บรรดาศักดิ์ "พระยากฤติกานุกรณกิจ")
- เจ้าผู้ครองประเทศราช
- นครเชียงใหม่: เจ้าแก้วนวรัฐ
- นครลำปาง: เจ้าราชบุตร (ผู้รั้งตำแหน่ง)
- นครลำพูน: เจ้าจักรคำขจรศักดิ์
เหตุการณ์
[แก้]- กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 นั้นถูกบัญญัติขึ้นโดยพระบรมราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อเป็นเกณฑ์ในการใช้สำหรับการสืบราชสันตติวงศ์ต่อไป
วันเกิด
[แก้]เมษายน
[แก้]- 30 เมษายน - หม่อมเจ้าเวียงวัฒนา ชยางกูร (สิ้นชีพิตักษัย 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564)
พฤษภาคม
[แก้]- 17 พฤษภาคม - หม่อมราชวงศ์ประสารสุวรรณ สุวรรณรัฐ (ถึงแก่กรรม 26 เมษายน พ.ศ. 2560)
- 19 พฤษภาคม - คำผาย นุปิง ศิลปินแห่งชาติ (ถึงแก่กรรม 23 กันยายน พ.ศ. 2557)
มิถุนายน
[แก้]- 2 มิถุนายน - บรรเจิดศรี ยมาภัย นักแสดง (ถึงแก่กรรม 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567)
สิงหาคม
[แก้]- 7 สิงหาคม - จารุลักษณ์กัลยาณี บูรณะนนท์ (สิ้นชีพิตักษัย 3 สิงหาคม พ.ศ. 2555)
- 15 สิงหาคม - หาญ ลีนานนท์ นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
- 21 สิงหาคม - มารุต บุนนาค นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 23 กันยายน พ.ศ. 2565)
ตุลาคม
[แก้]- 25 ตุลาคม - ดอกดิน กัญญามาลย์ ศิลปินแห่งชาติ (ถึงแก่กรรม 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561)
พฤศจิกายน
[แก้]- 12 พฤศจิกายน - ชวลี ช่วงวิทย์ นักร้อง (ถึงแก่กรรม 11 เมษายน พ.ศ. 2534)
ธันวาคม
[แก้]- 14 ธันวาคม - หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา (ถึงแก่อนิจกรรม 5 กันยายน พ.ศ. 2558)
- 18 ธันวาคม - ประภาศน์ อวยชัย นักการเมือง (ถึงแก่อนิจกรรม 10 มิถุนายน พ.ศ. 2560)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]กันยายน
[แก้]- 4 กันยายน - หม่อมเจ้าพร้อมเพราพรรณ วุฒิชัย (ประสูติ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2431)
ธันวาคม
[แก้]- 22 ธันวาคม - สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ามาลินีนภดารา ศิรินิภาพรรณวดี กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญา (ประสูติ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2428)