เดเมียนสค์พ็อกเกต
เดเมียนสค์พ็อกเกต | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Walter von Brockdorff-Ahlefeldt Walther von Seydlitz-Kurzbach | Pavel Kurochkin | ||||||
กำลัง | |||||||
100,000 (initial)[2][3] 31,000 replacement troops | 400,000 (initial) | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
16th Army (10.01. - 31.05.1942): 11,777 KIA and 2,739 MIA 40,000 WIA Total: 55,000[4] |
Northwestern Front (07.01. - 20.05.1942): 88,908 KIA and MIA 156,603 WIA Total: 245,500[5] |
เดเมียนสค์พ็อกเกต (เยอรมัน: Festung Demjansk or Kessel von Demjansk; รัสเซีย: Демя́нский котёл) เป็นรหัสนามที่มอบให้กับการโอบล้อมทหารเยอรมันที่ถูกล้อมโดยกองทัพแดงบริเวณรอบเดเมียนสค์ ทางตอนใต้ของเลนินกราด ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนแนวรบด้านตะวันออก การโอบล้อมครั้งนี้ได้ดำเนินตั้งแต่วันที่ 8 กุมภาพันธ์ ถึง 21 เมษายน ค.ศ. 1942 กองกำลังขนาดเล็กส่วนใหญ่ได้ยอมจำนนในวงล้อมฮอล์มที่เมืองฮอล์ม ระยะทางประมาณ 100 กิโลเมตร(62 ไมล์) ไปยังทางตะวันตกเฉียงใต้ ทั้งสองผลลัพธ์เกิดมาจากการล่าถอยของเยอรมันภายหลังจากความปราชัยในยุทธการที่มอสโก
ด้วยความประสบความสำเร็จของเดเมียนสค์ สัมฤทธิ์ผลด้วยการใช้สะพานทางอากาศ(Airbridge) เป็นการพัฒนาที่สำคัญในการสงครามสมัยใหม่ มันเป็นความสำเร็จจากการสนับสนุนที่สำคัญในการตัดสินใจโดยกองบัญชาการใหญ่กองทัพบกเพื่อพยายามที่จะใช้กลยุทธวิธีเดียวกันในช่วงยุทธการที่สตาลินกราดที่ล้มเหลวจากการช่วยเหลือกองทัพที่ 6 ภายใต้การนำของเพาลุส
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Glantz 2001, p. 31.
- ↑ Hayward 1997, p. 24.
- ↑ Beevor 1999, p. 43.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-28. สืบค้นเมื่อ 2015-03-24.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์) - ↑ "Ц.Т.Йпхбньееб (Онд Педюйжхеи). Пняяхъ Х Яяяп Б Бнимюу Xx Бейю: Онрепх Бннпсфеммшу Яхк". Lib.ru. สืบค้นเมื่อ 2017-06-23.