การรุกวิสตูลา–โอเดอร์
การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ใน สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
รถถังพิฆาต ISU-122 ของโซเวียตเคลื่อนนำสู่นครวูช | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
นาซีเยอรมนี |
สหภาพโซเวียต โปแลนด์ | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
แฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์ (กลุ่มกองทัพ A) (จากวันที่ 20 มกราคม) โจเซฟ ฮาร์เบ (กลุ่มกองทัพ A) (จนถึงวันที่ 20 มกราคม) |
เกออร์กี จูคอฟ (แนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1) อีวาน โคเนฟ (แนวรบยูเครนที่ 1) | ||||||
กำลัง | |||||||
กำลังพล 450,000 นาย[1] | กำลังพล 2,203,600 นาย[2] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
เสียชีวิต 295,000 นาย ได้รับบาดเจ็บ 146,368 นาย[4][5] |
เสียชีวิตหรือสูญหาย 43,476 นาย ได้รับบาดเจ็บและป่วย 150,715 นาย[2] |
การรุกวิสตูลา-โอเดอร์ เป็นการรุกที่ประสบความสำเร็จของกองทัพแดงใน แนวรบด้านตะวันออก และสงครามโลกครั้งที่สองในยุโรปในเดือนมกราคมปี 1945 โดยที่กองทัพแดงสามารถปลดปล่อยกรากุฟ, กรุงวอร์ซอ และ พอซนาน
กองทัพแดงได้สร้างความแข็งแกร่งให้กับหัวสะพานสำคัญหลายแห่งโดยมีจอมพล เกออร์กี จูคอฟ และจอมพล อีวาน โคเนฟ เป็นผู้บัญชาการ ตรงกันข้ามกับ กลุ่มกองทัพเยอรมันเอที่นำโดยพลเอก โจเซฟ ฮาร์เบ (ในไม่ช้าก็ถูกแทนที่ด้วยพลเอกแฟร์ดีนันท์ เชอร์เนอร์) ซึ่งมีจำนวนมากกว่า 5: 1 ภายในไม่กี่วัน ผู้บัญชาการเยอรมันได้สั่งอพยพค่ายกักกัน และส่งผู้ต้องขังไปทางตะวันตก โดยที่ชาวเยอรมันเริ่มหนีเช่นกัน ในเวลาน้อยกว่าสองสัปดาห์ กองทัพแดงรุกได้ถึง 300 ไมล์ (483 กม.) จากวิสตูลาไปยังโอเดอร์ เพียง 43 ไมล์ (69 กม.) จะถึงกรุงเบอร์ลินที่ไม่ได้รับการป้องกัน แต่จูคอฟสั่งให้หยุดการโจมตีเนื่องจากการต่อต้านโดยเยอรมันอย่างต่อเนื่องในทางด้านเหนือ (พอเมอเรเนีย) และการรุกหน้าสู่กรุงเบอร์ลินจะต้องล่าช้าออกไปจนถึงเดือนเมษายน
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Duffy pp. 51, 59
- ↑ 2.0 2.1 Glantz (1995), p. 300
- ↑ Bahm, pp. 51-52
- ↑ http://ww2stats.com/cas_ger_okh_dec45.html
- ↑ http://forum.axishistory.com/viewtopic.php?f=50&t=112689&start=15