ข้ามไปเนื้อหา

คูเรียม

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Curium)
คูเรียม, 00Cm
คูเรียม
การอ่านออกเสียง/ˈkjʊəriəm/ (KURE-ee-əm)
รูปลักษณ์โลหะสีเงิน
เลขมวล[247]
คูเรียมในตารางธาตุ
Hydrogen Helium
Lithium Beryllium Boron Carbon Nitrogen Oxygen Fluorine Neon
Sodium Magnesium Aluminium Silicon Phosphorus Sulfur Chlorine Argon
Potassium Calcium Scandium Titanium Vanadium Chromium Manganese Iron Cobalt Nickel Copper Zinc Gallium Germanium Arsenic Selenium Bromine Krypton
Rubidium Strontium Yttrium Zirconium Niobium Molybdenum Technetium Ruthenium Rhodium Palladium Silver Cadmium Indium Tin Antimony Tellurium Iodine Xenon
Caesium Barium Lanthanum Cerium Praseodymium Neodymium Promethium Samarium Europium Gadolinium Terbium Dysprosium Holmium Erbium Thulium Ytterbium Lutetium Hafnium Tantalum Tungsten Rhenium Osmium Iridium Platinum Gold Mercury (element) Thallium Lead Bismuth Polonium Astatine Radon
Francium Radium Actinium Thorium Protactinium Uranium Neptunium Plutonium Americium Curium Berkelium Californium Einsteinium Fermium Mendelevium Nobelium Lawrencium Rutherfordium Dubnium Seaborgium Bohrium Hassium Meitnerium Darmstadtium Roentgenium Copernicium Nihonium Flerovium Moscovium Livermorium Tennessine Oganesson
Gd

Cm

(Uqo)
อะเมริเซียมคูเรียมเบอร์คีเลียม
คาบคาบที่ 7
บล็อก  บล็อก-f
การจัดเรียงอิเล็กตรอน[Rn] 5f7 6d1 7s2
จำนวนอิเล็กตรอนต่อชั้น2, 8, 18, 32, 25, 9, 2
สมบัติทางกายภาพ
วัฏภาค ณ STPของแข็ง
จุดหลอมเหลว1613 K ​(1340 °C, ​2444 °F)
จุดเดือด3383 K ​(3110 °C, ​5630 °F)
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)13.51 g/cm3
ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว? 15 kJ/mol
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
at T (K) 1788 1982        
สมบัติเชิงอะตอม
เลขออกซิเดชัน+3, +4, +5,[1] +6[2] (ออกไซด์เป็นแอมโฟเทริก)
อิเล็กโตรเนกาทิวิตีPauling scale: 1.3
รัศมีอะตอมempirical: 174 pm
รัศมีโคเวเลนต์169±3 pm
Color lines in a spectral range
Color lines in a spectral range
เส้นสเปกตรัมของคูเรียม
สมบัติอื่น
โครงสร้างผลึก ​เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ
สภาพต้านทานไฟฟ้า1.25[3] µ Ω⋅m
ความเป็นแม่เหล็กแอนติเฟอโรแมกเนติก→พาราแมกเนติก เปลี่ยนที่อุณหภูมิ 52 เคลวิน[3]
เลขทะเบียน CAS7440-51-9
ประวัติศาสตร์
การค้นพบเกลนน์ ที. ซีบอร์ก, ราฟ เอ. เจมส์, อัลเบิร์ต เกอร์โซ (1944)
ไอโซโทปของคูเรียม
ไม่มีหน้า แม่แบบ:กล่องข้อมูลไอโซโทปของคูเรียม
หมวดหมู่ หมวดหมู่: คูเรียม
| แหล่งอ้างอิง

คูเรียม (อังกฤษ: Curium) คือธาตุที่มีหมายเลขอะตอม 96 และสัญลักษณ์คือ Cm คูเรียมเป็นธาตุโลหะกัมมันตภาพรังสี เป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นโดยการยิงพลูโตเนียมด้วยอนุภาคแอลฟ่า (ฮีเลียมไอออน) คูเรียมเป็นธาตุในกลุ่มแอกทิไนด์ (actinide) คูเรียมตั้งชื่อตามมารี กูรีและสามีของเธอ ปิแอร์ กูรี

สารประกอบ

[แก้]

สารประกอบคูเรียมมีดังนี้:

  • คูเรียม ไดออกไซด์ (curium dioxide (CmO2)) ,
  • คูเรียม ไทรออกไซด์ (curium trioxide (Cm2O3)) ,
  • คูเรียม ไตรโบรไมด์ (curium bromide (CmBr3)) ,
  • คูเรียม ไตรคลอไรด์ (curium chloride (CmCl3)) ,
  • คูเรียม เททระฟลูออไรด์ (curium tetrafluoride (CmF4))
  • คูเรียม ไตรไอโอไดด์ (curium iodide (CmI3)).
  1. Kovács, Attila; Dau, Phuong D.; Marçalo, Joaquim; Gibson, John K. (2018). "Pentavalent Curium, Berkelium, and Californium in Nitrate Complexes: Extending Actinide Chemistry and Oxidation States". Inorg. Chem. American Chemical Society. 57 (15): 9453–9467. doi:10.1021/acs.inorgchem.8b01450. OSTI 1631597. PMID 30040397. S2CID 51717837.
  2. Domanov, V. P.; Lobanov, Yu. V. (October 2011). "Formation of volatile curium(VI) trioxide CmO3". Radiochemistry. SP MAIK Nauka/Interperiodica. 53 (5): 453–6. doi:10.1134/S1066362211050018. S2CID 98052484.
  3. 3.0 3.1 Schenkel, R (1977). "The electrical resistivity of 244Cm metal". Solid State Communications. 23 (6): 389. Bibcode:1977SSCom..23..389S. doi:10.1016/0038-1098(77)90239-3.