ข้ามไปเนื้อหา

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนราธิวาส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดนราธิวาส
เขตเลือกตั้งในปัจจุบัน
จำนวนเขต5
คะแนนเสียง101,954 (พลังประชารัฐ)
117,822 (ประชาชาติ)
80,178 (ภูมิใจไทย)
56,772 (รวมไทยสร้างชาติ)
เขตเลือกตั้งปัจจุบัน
ก่อตั้งพ.ศ. 2476
ที่นั่งพลังประชารัฐ (2)
ประชาชาติ (1)
ภูมิใจไทย (1)
รวมไทยสร้างชาติ (1)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดูในบทความ

จังหวัดนราธิวาส มีเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 5 เขต (สำหรับการเลือกตั้ง พ.ศ. 2566)[1] และมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งได้ 5 คน จากทั้งหมด 400 คนทั่วประเทศในสภาผู้แทนราษฎรไทย

ประวัติศาสตร์

[แก้]

หลังจากที่ประเทศไทยเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ได้มีการจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2476 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็น "การเลือกตั้งทางอ้อมครั้งแรกและครั้งเดียวของไทย" โดยจังหวัดนราธิวาสมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรคนแรก คือ ขุนชำนาญภาษา (ฤทธิ์ รัตนศรีศุข)[2]

เขตเลือกตั้ง

[แก้]
การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้ง แผนที่ จำนวน ส.ส.
พ.ศ. 2476 เขตเลือกตั้งที่ 1 : ทั้งจังหวัด 1 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2480
พ.ศ. 2481
พ.ศ. 2489
พ.ศ. 2491
พ.ศ. 2492
พ.ศ. 2495
พ.ศ. 2500/1 2 คน (เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2500/2
พ.ศ. 2512
พ.ศ. 2518
พ.ศ. 2519 3 คน (เขตละ 3 คน)
พ.ศ. 2522
พ.ศ. 2526
พ.ศ. 2529
พ.ศ. 2531
พ.ศ. 2535/1 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร และอำเภอตากใบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ และอำเภอระแงะ
4 คน
(2 เขต เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2535/2
พ.ศ. 2538 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร และอำเภอตากใบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และกิ่งอำเภอเจาะไอร้อง
พ.ศ. 2539
พ.ศ. 2544 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาสและอำเภอตากใบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก และอำเภอแว้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ, อำเภอยี่งอ และอำเภอบาเจาะ
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2549 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาสและอำเภอยี่งอ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตากใบและอำเภอสุไหงโก-ลก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอเจาะไอร้อง, อำเภอระแงะ และอำเภอจะแนะ
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ และอำเภอบาเจาะ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอแว้ง และอำเภอสุคิริน
5 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2550 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาส, อำเภอยี่งอ, อำเภอบาเจาะ, อำเภอรือเสาะ, อำเภอศรีสาคร, อำเภอตากใบ และอำเภอสุไหงโก-ลก
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอแว้ง, อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง
5 คน (เขต 1 เขตละ 3 คน
ส่วน เขต 2 เขตละ 2 คน)
พ.ศ. 2554 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอเมืองนราธิวาสและอำเภอตากใบ
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอสุไหงปาดี, อำเภอสุไหงโก-ลก และอำเภอแว้ง
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอสุคิริน, อำเภอจะแนะ, อำเภอระแงะ และอำเภอเจาะไอร้อง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ, อำเภอยี่งอ และอำเภอบาเจาะ
4 คน (เขตละ 1 คน)
พ.ศ. 2557
พ.ศ. 2562
พ.ศ. 2566 · เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำเภอยี่งอและอำเภอเมืองนราธิวาส
· เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำเภอตากใบและอำเภอสุไหงโก-ลก
· เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำเภอแว้ง, อำเภอสุไหงปาดี และอำเภอเจาะไอร้อง
· เขตเลือกตั้งที่ 4 : อำเภอระแงะ, อำเภอสุคิริน และอำเภอจะแนะ
· เขตเลือกตั้งที่ 5 : อำเภอศรีสาคร, อำเภอรือเสาะ และอำเภอบาเจาะ
5 คน (เขตละ 1 คน)

รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต

[แก้]

ชุดที่ 1–7; พ.ศ. 2476–2495

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์พรรคประชาชน (พ.ศ. 2490)
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 1 พ.ศ. 2476 ขุนชำนาญภาษา (ฤทธิ์ รัตนศรีศุข)
ชุดที่ 2 พ.ศ. 2480 นายอดุลย์ ณ สายบุรี
ชุดที่ 3 พ.ศ. 2481
ชุดที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2489 นายวงศ์ ไชยสุวรรณ
สิงหาคม พ.ศ. 2489 ร้อยตำรวจโท สุริยน ไรวา (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 5 พ.ศ. 2491 นายสมรรถ เอี่ยมวิโรจน์
พ.ศ. 2492 – (เลือกตั้งเพิ่มเติม)
ชุดที่ 7 พ.ศ. 2495 นายเอิบ อิสสระ

ชุดที่ 8–11; พ.ศ. 2500–2518

[แก้]
      พรรคเสรีมนังคศิลา
      พรรคธรรมาธิปัตย์ (พ.ศ. 2498)
      พรรคสหภูมิพรรคชาติสังคม
      พรรคสหประชาไทย
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคธรรมสังคม
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ร้อยตำรวจโท สุริยน ไรวา นายโสภณ เอี่ยมอิทธิพล
ชุดที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2500 นายเอิบ อิสสระ นายโสภณ เอี่ยมอิทธิพล
ชุดที่ 10 พ.ศ. 2512 นายถาวรณ์ ไชยสุวรรณ นายเรวัต ราชมุกดา
ชุดที่ 11 พ.ศ. 2518 นายถาวรณ์ ไชยสุวรรณ นายสิดดิก สารีฟ

ชุดที่ 12–16; พ.ศ. 2519–2531

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคกิจสังคม
      พรรคชาติประชาชน (พ.ศ. 2522)
      พรรคสยามประชาธิปไตยพรรคชาติไทย
      พรรคกิจประชาคม (2529) → พรรคเอกภาพ (2531)
      พรรคประชาชนพรรคเอกภาพ
      พรรครวมไทยพรรคเอกภาพ
ชุดที่ การเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งที่ 1
ชุดที่ 12 พ.ศ. 2519 นายวชิระ มะโรหบุตร นายสิดดิก สารีฟ นายศิริ อับดุลสาและ
ชุดที่ 13 พ.ศ. 2522 นายเสนีย์ มะดากะกุล นายถาวรณ์ ไชยสุวรรณ นายปริญญา เจตาภิวัฒน์
ชุดที่ 14 พ.ศ. 2526 นายถาวรณ์ ไชยสุวรรณ นายสิทธิชัย บือราเฮง
ชุดที่ 15 พ.ศ. 2529 นายเสนีย์ มะดากะกุล นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ นายพิบูลย์ พงศ์ธเนศ
ชุดที่ 16 พ.ศ. 2531 นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ นายปริญญา เจตาภิวัฒน์

ชุดที่ 17–20; พ.ศ. 2535–2539

[แก้]
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคสามัคคีธรรม
      พรรคประชาธิปัตย์
เขต ชุดที่ 17
มีนาคม พ.ศ. 2535
ชุดที่ 18
กันยายน พ.ศ. 2535
ชุดที่ 19 พ.ศ. 2538 ชุดที่ 20 พ.ศ. 2539
1 นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
นายเจะอามิง โตะตาหยง นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ นายเจะอามิง โตะตาหยง
2 นายปริญญา เจตาภิวัฒน์ นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
นายนัจมุดดีน อูมา นายรำรี มามะ

ชุดที่ 21–22; พ.ศ. 2544–2548

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคความหวังใหม่
      พรรคความหวังใหม่พรรคไทยรักไทย
      พรรคไทยรักไทย
      พรรคชาติไทย
เขต ชุดที่ 21 พ.ศ. 2544 ชุดที่ 22 พ.ศ. 2548
1 นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ นายเจะอามิง โตะตาหยง
2 นายสุธิพันธ์ ศรีริกานนท์ นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
นายอรรถพล มามะ
(แทนนายสุธิพันธ์)
3 นายนัจมุดดีน อูมา นายกูเฮง ยาวอหะซัน
4 นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
( / เลือกตั้งใหม่)
นายอดุลย์ สาฮีบาตู

ชุดที่ 23; พ.ศ. 2550

[แก้]
      พรรคเพื่อแผ่นดิน
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคชาติไทย
      พรรคชาติไทยพรรคชาติไทยพัฒนา
      พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)พรรคมาตุภูมิ
      พรรคชาติไทยพัฒนา
เขต ชุดที่ 23 พ.ศ. 2550
1 นายแวมาฮาดี แวดาโอะ
นายเจะอามิง โตะตาหยง
นายวัชระ ยาวอหะซัน
2 นายกูเฮง ยาวอหะซัน
(ถูกตัดสิทธิ์ทางการเมือง 5 ปี)
นายนิอาริส เจตาภิวัฒน์
(แทนนายกูเฮง)
นายนัจมุดดีน อูมา

ชุดที่ 24–25; พ.ศ. 2554–2562

[แก้]
      พรรคประชาธิปัตย์
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคประชาชาติ
เขต ชุดที่ 24 พ.ศ. 2554 ชุดที่ 25 พ.ศ. 2562
1 นายกูอาเซ็ม กูจินามิง นายวัชระ ยาวอหะซัน
2 นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ นายสัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ
3 นายรำรี มามะ นายกูเฮง ยาวอหะซัน
4 นายเจะอามิง โตะตาหยง นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ

ชุดที่ 26; พ.ศ. 2566

[แก้]
      พรรครวมไทยสร้างชาติ
      พรรคพลังประชารัฐ
      พรรคภูมิใจไทย
      พรรคประชาชาติ
เขต ชุดที่ 26 พ.ศ. 2566
1 นายวัชระ ยาวอหะซัน
2 นายอามินทร์ มะยูโซ๊ะ
3 นายสัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ
4 นายซาการียา สะอิ
5 นายกมลศักดิ์ ลีวาเมาะ

รูปภาพ

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง จำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้งและเขตเลือกตั้งของแต่ละจังหวัดจะพึงมี" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 140 (14 ก): 38–42. 3 มีนาคม 2566.
  2. อาร์วายทีไนน์,สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากการเลือกตั้งครั้งแรก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]